๒. เรื่องว่าในกุสินาราฤดูหนาว ต้นสาละใบร่วงหมดแล้ว
เนื้อหาหลัก / 20 กรกฎาคม 2543

เป็นตอนที่ 11 จาก 15 ตอนของ กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)

๒. เรื่องว่าในกุสินาราฤดูหนาว ต้นสาละใบร่วงหมดแล้ว ตัวอย่างที่ ๒ ขอยกตัวอย่างเรื่องปลีกย่อยที่ทำให้เห็นว่า ท่านเมตตาฯ นั้นเหมือนกับท่านพูดไปเรื่อยๆ และพูดเอาเองว่าอันนั้นเป็นอย่างนี้ อันนี้เป็นอย่างนั…

การปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ท่านเล่าไว้ในพระไตรปิฎกมากมายหลายแห่ง
เนื้อหาหลัก / 20 กรกฎาคม 2543

เป็นตอนที่ 6 จาก 15 ตอนของ กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)

การปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ท่านเล่าไว้ในพระไตรปิฎกมากมายหลายแห่ง พอเริ่มเรื่อง ท่านเมตตาฯ ก็เขียนบอกแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับพุทธปรินิพพานอย่างหนักแน่น เหมือนกับมีความมั่นใจเต็มที่ ดังคำของท่านเองว่า รายละ…

ถ้าข้อมูลผิด ก็ตีความ วิจารณ์ สันนิษฐานพลาดไปหมด
เนื้อหาหลัก / 20 กรกฎาคม 2543

เป็นตอนที่ 4 จาก 15 ตอนของ กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)

ถ้าข้อมูลผิด ก็ตีความ วิจารณ์ สันนิษฐานพลาดไปหมด ในแง่ที่เป็นนักวิชาการนั้น พิจารณาง่ายๆ ได้ ๒ ขั้น คือ ในขั้นข้อมูล ในขั้นตีความ วิเคราะห์ วิจัย สันนิษฐาน วินิจฉัย เป็นต้น ขั้นที่ ๒ คือการวิเคราะห์ ต…

จริยธรรมของนักวิชาการไทย อยู่ที่ไหน
เนื้อหาหลัก / 20 กรกฎาคม 2543

เป็นตอนที่ 14 จาก 15 ตอนของ กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)

จริยธรรมของนักวิชาการไทย อยู่ที่ไหน ถาม: ตามความเข้าใจของดิฉันนะคะ ที่เห็นพระก็ดี ผู้ที่ปฏิบัติธรรมขณะนี้ก็ดี มีความเห็นผิด หลงทางกันเยอะทีเดียว ทีนี้การหลงทางนี่ ดิฉันคิดว่าถ้าหากว่าท่านได้ศึกษาพระไต…

ใฝ่รู้จริง รักความจริง ชื่อตรงต่อความจริง นักวิชาการไทยจะสร้างปัญญาให้แก่สังคมได้
เนื้อหาหลัก / 20 กรกฎาคม 2543

เป็นตอนที่ 15 จาก 15 ตอนของ กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)

ใฝ่รู้จริง รักความจริง ชื่อตรงต่อความจริง นักวิชาการไทยจะสร้างปัญญาให้แก่สังคมได้ จะด้วยเข้าใจผิดเอง หรือพยายามจะให้คนทั่วไปเข้าใจผิด ก็ตาม ได้มีการพูดและเขียนในทำนองที่จะทำให้คนไขว้เขวว่ากรณีของท่านเ…

รู้แล้วยิ่งมั่นใจและยิ่งเลื่อมใสว่า ท่านรักษาพระธรรมวินัย ไว้กับพระไตรปิฎกได้อย่างอัศจรรย์
เนื้อหาหลัก / 20 กรกฎาคม 2543

เป็นตอนที่ 9 จาก 15 ตอนของ กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)

รู้แล้วยิ่งมั่นใจและยิ่งเลื่อมใสว่า ท่านรักษาพระธรรมวินัย ไว้กับพระไตรปิฎกได้อย่างอัศจรรย์ ตามที่ได้อธิบายมาจะเห็นชัดว่า คำสอนของพระพุทธเจ้า เช่น พระสูตรต่างๆ นั้น เรื่องเดียวกัน ตอนเดียวกัน อาจปรากฏอ…

ฝรั่งแม้จะเน้นข้อมูลที่แม่นยำ ก็ยังพลาดเยอะ
เนื้อหาหลัก / 20 กรกฎาคม 2543

เป็นตอนที่ 5 จาก 15 ตอนของ กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)

ฝรั่งแม้จะเน้นข้อมูลที่แม่นยำ ก็ยังพลาดเยอะ ตอนนี้มีการพูดกันถึงเรื่องที่ว่า ท่านผู้ที่เขียนเรื่องนี้เป็นผู้มีการศึกษา จบจากเมืองฝรั่ง ซึ่งบางทีคนไทยเราก็มองไปในแง่ว่า ถ้าจบการศึกษาจากเมืองฝรั่งละก็น่…

กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)
เนื้อหาหลัก / 20 กรกฎาคม 2543

เป็นตอนที่ 2 จาก 15 ตอนของ กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)

กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้า ปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น) ขออาราธนาพระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎก ได้เมตตาให้ธรรมโอวาทแก่ชาวธรรมะร่วมสมัย ในเบื้องต้นนี้ ขอนมัสการเรียนถามเรื่องพระมโน เมตฺตานนฺ…

ในแง่เป็นนักวิชาการ
เนื้อหาหลัก / 20 กรกฎาคม 2543

เป็นตอนที่ 3 จาก 15 ตอนของ กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)

ในแง่เป็นนักวิชาการ ในแง่เป็นนักวิชาการนั้น เราถือว่านักวิชาการเป็นผู้ทำหน้าที่ให้ปัญญาแก่ผู้อื่น และแก่สังคม อย่างน้อยก็แสวงหาความรู้ความเข้าใจให้เจริญปัญญาแก่ตนเอง จึงจะต้องมีความรับผิดชอบ ยิ่งเป็นบ…

๑. เรื่องว่าพระพุทธเจ้าปรินิพพานในเมือง ไม่ใช่ในสวนป่า
เนื้อหาหลัก / 20 กรกฎาคม 2543

เป็นตอนที่ 10 จาก 15 ตอนของ กรณีเงื่อนงำ: พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น)

๑. เรื่องว่าพระพุทธเจ้าปรินิพพานในเมือง ไม่ใช่ในสวนป่า ตัวอย่างที่ ๑ ท่านเมตตาฯ เขียนว่า เมื่อพระอานนท์ทราบว่าพระพุทธองค์จะปรินิพพานแน่แล้ว ได้เกิดความเสียใจจนกระทั่งจะเป็นลม ไม่อาจประคองตนไว้ได้ ต้อง…