๑) บางส่วนของปฏิจจสมุปบาท ที่ควรสังเกตเป็นพิเศษ
เนื้อหาหลัก / 1 เมษายน 2548

เป็นตอนที่ 1 จาก 7 ตอนของ เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท และกรรม

เหตุปัจจัย ในปฏิจจสมุปบาท และกรรม   ๑) บางส่วนของปฏิจจสมุปบาท ที่ควรสังเกตเป็นพิเศษ ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องของกฎธรรมชาติ จึงเป็นเรื่องใหญ่ มีความกว้างขวางลึกซึ้ง และมีแง่ด้านต่างๆ มากมาย ละเอียดซ…

พระพุทธเจ้าทรงอธิบายปฏิจจสมุปบาท ตามสติปัญญาของผู้ฟัง
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 36 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

พระพุทธเจ้าทรงอธิบายปฏิจจสมุปบาท ตามสติปัญญาของผู้ฟัง มันขึ้นอยู่กับว่าเราอธิบายให้ใครฟัง เพราะพระพุทธเจ้าและอาจารย์ทั้งหลาย อธิบายหลักปฏิจจสมุปบาทให้กับคนหลายประเภท สำหรับคนประเภทที่มีปัญญามากหน่อย ก…

ปฏิจจสมุปบาทแบบง่าย
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 33 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ปฏิจจสมุปบาทแบบง่าย พระพรหมคุณาภรณ์ นี่คือ กระบวนการที่ความทุกข์เกิด แต่คุณสามารถหยุดกระบวนการหรือวงจรที่ว่านี้ หลายครั้งพระพุทธเจ้าสอนปฏิจจสมุปบาทแบบง่าย โดยเริ่มจากการรับรู้ (ผัสสะ) เมื่อเราเห็นรูป …

กระบวนการปฏิจจสมุปบาทเกิดตลอดเวลา
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 35 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

กระบวนการปฏิจจสมุปบาทเกิดตลอดเวลา พระพรหมคุณาภรณ์ คนที่พูดถึงกระบวนการสามชาติ จะอ้างคัมภีร์วิสุทธิมรรค คัมภีร์ที่รจนาโดยพระพุทธโฆษาจารย์ แต่ถ้าเราไปไกลกว่านั้น ถึงอีกคัมภีร์หนึ่งที่อธิบายพระไตรปิฎกโดย…

ความหมายและฐานะของสัจจธรรม
เนื้อหาหลัก / 20 กันยายน 2531

เป็นตอนที่ 2 จาก 11 ตอนของ สัจจธรรมกับจริยธรรม

ความหมายและฐานะของสัจจธรรม ตอนต้นนี้ควรเริ่มด้วยสัจจธรรมก่อน ประการแรก จะพูดถึงความหมายง่ายๆ ว่า พุทธศาสนามองสัจจธรรมอย่างไร สัจจธรรม แปลง่ายๆ ว่า ความจริง ความแท้ ภาวะที่เป็นอย่างนั้น หรือภาวะที่เป็น…

กรรมในฐานะกฎเกณฑ์แห่งเหตุและผล
เนื้อหาหลัก / 17 พฤษภาคม 2529

เป็นตอนที่ 3 จาก 12 ตอนของ หลักกรรมสำหรับคนสมัยใหม่

กรรมในฐานะกฎเกณฑ์แห่งเหตุและผล แง่ที่จะต้องเข้าใจเกี่ยวกับกรรมยังมีอีกหลายอย่าง เช่น เราจะต้องมองกรรมในแง่ของกฎเกณฑ์แห่งเหตุและผล กรรมเป็นเรื่องของความเป็นไปตามเหตุปัจจัย พระพุทธศาสนาถือหลักการใหญ่ที่…