ศรัทธาและปัญญาไม่ใช่คู่แข่งขัน
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 32 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ศรัทธาและปัญญาไม่ใช่คู่แข่งขัน พระพรหมคุณาภรณ์ นี่คือวิธีการที่เขาแปลคำศัพท์ให้พอเข้าใจ แต่คำในภาษาบาลี คือ มิตตะ มิตตะ คือ เพื่อน แต่เพื่อนในที่นี้ อาจเป็นพ่อ เป็นแม่ เป็นครู เป็นอาจารย์ เป็นผู้แนะนำ…

กินอย่างไรให้เป็นไตรสิกขา
เนื้อหาหลัก / 16 มกราคม 2545

เป็นตอนที่ 8 จาก 21 ตอนของ การศึกษาฉบับง่าย

กินอย่างไรให้เป็นไตรสิกขา กินอย่างไรให้เป็นไตรสิกขา การกินก็เป็นความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมใช่ไหม คือเป็นการสัมพันธ์กับวัตถุข้างนอก เพราะในการกิน หรือรับประทานนั้น เราใช้ลิ้น ใช้ปาก สัมพันธ์กับสิ่งแวดล…

– ๑ – จิตใจของนักวิชาการ
เนื้อหาหลัก / 23 กันยายน 2539

เป็นตอนที่ 2 จาก 4 ตอนของ เพื่อชุมชนแห่งการศึกษา และบรรยากาศแห่งวิชาการ (คุณธรรมของครูอาจารย์และผู้บริหาร)

– ๑ – จิตใจของนักวิชาการ วิชาการต้องมีชีวิตชีวา จึงจะมีการแสวงปัญญาอย่างแท้จริง ได้บอกเมื่อกี้ว่า ปัญญาเป็นคุณสมบัติเยี่ยมยอดของมนุษย์ เพราะมนุษย์นั้นเป็นอยู่ด้วยอาศัยสัญชาตญาณได้น้อย ไม่เ…

การพัฒนาคนเป็นระบบแห่งบูรณาการ
เนื้อหาหลัก / 6 กรกฎาคม 2539

เป็นตอนที่ 2 จาก 12 ตอนของ จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาคน ตามแนวธรรมชาติ

การพัฒนาคนเป็นระบบแห่งบูรณาการ คนนั้นมีชีวิตความเป็นอยู่ซึ่งเราเรียกในภาษาปัจจุบันว่าเป็นองค์รวม การดำเนินชีวิตของเขานั้นแยกออกได้เป็นหลายด้าน แต่ทุกด้านนั้นมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ด้านต่างๆ เหล่า…

ฐานของสื่อมวลชน คือปัญญาที่จะจัดการกับข่าวสารข้อมูล
เนื้อหาหลัก / 4 มีนาคม 2537

เป็นตอนที่ 11 จาก 12 ตอนของ สื่อมวลชนกับการสร้างสรรค์สังคม

ฐานของสื่อมวลชน คือปัญญาที่จะจัดการกับข่าวสารข้อมูล ในเรื่องของการทำหน้าที่สื่อมวลชนนี้ อาตมาขอเสนอหลักอย่างหนึ่งว่า สำหรับผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูล ท่านสอนหลักการว่า จะต้องมีปัญญาชุดหนึ่ง…

ฉลาดเชิงกลไก แต่ไม่พัฒนาปัญญา ท่องไปทั่วหล้า แต่ปัญญาอ้างว้าง
เนื้อหาหลัก / 22 มกราคม 2536

เป็นตอนที่ 10 จาก 41 ตอนของ สถานการณ์พระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เป็นพัฒนา

ฉลาดเชิงกลไก แต่ไม่พัฒนาปัญญา ท่องไปทั่วหล้า แต่ปัญญาอ้างว้าง ดูลึกลงไปหน่อย พระพุทธศาสนาที่สืบๆ มาถึงเรานั้น ก็อยู่มาในสังคมไทย เป็นพุทธศาสนาของคนไทย ที่ไปๆ มาๆ ก็เป็นมรดกสืบทอดของสังคมไทย บางทีที่เร…

ศาสนาแห่งธรรมชาติ และการรู้ธรรมชาติด้วยปัญญา
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 16 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ศาสนาแห่งธรรมชาติ และการรู้ธรรมชาติด้วยปัญญา ทีนี้เพื่อจะให้เกิดความเข้าใจชัดเจนในเรื่องนี้ อาตมาจะขอเอาเวลาช่วงนี้มาใช้กับการพูดถึงหลักการพื้นฐานบางอย่างที่พึงสังเกตของพุทธ­ศาสนา ตอนแรกนี้ พูดถึงตัวห…

วิทยาศาสตร์กับพุทธศาสนา จุดแยกหรือจุดบรรจบ
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 15 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์กับพุทธศาสนา จุดแยกหรือจุดบรรจบ เป็นศาสนาเหมือนกัน แต่ไม่เหมือนกัน เมื่อพูดถึงพุทธศาสนา ก็ต้องพูดถึงจุดเริ่มของพุทธศาสนาก่อน เมื่อกี้บอกว่า จุดเริ่มของศาสนาคือความกลัวภัย ทีนี้จุดเริ่มของพุ…

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ความต่างในความเหมือน
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 19 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ความต่างในความเหมือน ศรัทธา: จุดร่วมของพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ที่เป็นจุดแยกจากศาสนาอื่นๆ ทีนี้ก็มาลองวิเคราะห์ดูในบางเรื่องบางอย่างตามหลักการพื้นฐาน เพื่อเป็นข้อสังเกตเชิงเปรี…

หลักการพัฒนาปัญญา
เนื้อหาหลัก / 8 ตุลาคม 2528

เป็นตอนที่ 8 จาก 12 ตอนของ พัฒนาปัญญา เล่าเรื่องให้โยมฟัง ชุดที่ ๒

หลักการพัฒนาปัญญา เจริญพร รายการเล่าเรื่องให้โยมฟังวันนี้ ก็ยังอยู่ภายในหัวข้อธรรมเรื่องปัญญา เรื่องปัญญานี้ ได้พูดมาหลายครั้งแล้ว ได้พูดถึงปัญญาในระดับของการใช้งานในชีวิตประจำวัน ในธุรกิจการงานต่างๆ …