ความพร้อมบ่มได้ ไม่ต้องรอให้พร้อมเอง
เนื้อหาหลัก / 26 ตุลาคม 2548

เป็นตอนที่ 21 จาก 26 ตอนของ การเสริมสร้างคุณลักษณะเด็กไทย

ความพร้อมบ่มได้ ไม่ต้องรอให้พร้อมเอง ท่านอาจารย์มีอะไรไหมตอนนี้ อาจารย์ผู้หญิง: ปัญหาที่เกิดขึ้น ที่ทำให้เด็กมีพฤติกรรมไปในทางเสพวัตถุหรือไม่มีปัญญา โยมรู้สึกว่ามันจะอยู่ในตอนที่ ท่านอาจารย์พูดถึงเรื่…

หลักการสำคัญบางอย่าง ที่เป็นแนวทางของการจัดการศึกษา
เนื้อหาหลัก / 27 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 22 จาก 24 ตอนของ พุทธธรรมกับปรัชญาการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์

หลักการสำคัญบางอย่าง ที่เป็นแนวทางของการจัดการศึกษา ทีนี้ก็มาถึงตัวหลัก อย่างไรก็ตาม หลักแต่ละเรื่องนั้นยาวมาก แต่ก็ไม่เป็นไร เพราะในด้านตัวหลักเคยพูดไว้บ่อย เพราะฉะนั้นแม้จะไม่พูดถึงตัวหลักการก็ได้ ใ…

ความเป็นกัลยาณมิตรของหลวงปู่ชา
หนังสือ , ธรรมนิพนธ์ / 16 มกราคม 2536

…พระพุทธเจ้าตรัสไว้เองในพระสูตรหนึ่ง มีพุทธพจน์ว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราเป็นกัลยาณมิตรของสัตว์ทั้งหลาย อาศัยเราผู้เป็นกัลยาณมิตร…” …แต่สิ่งที่สำคัญอย่างหนึ่งก็คือ จะต้องรู้เ…

คฤหัสถ์ กับคฤหัสถ์
เนื้อหาหลัก / 1 มีนาคม 2528

เป็นตอนที่ 4 จาก 9 ตอนของ รากฐานพุทธจริยศาสตร์ สำหรับสังคมไทยร่วมสมัย

คฤหัสถ์ กับคฤหัสถ์ ข้อแนะนำในทางปฏิบัติ สำหรับจัดระเบียบคณะสงฆ์นั้น ปรากฏอยู่ในพระวินัยปิฎกโดยเฉพาะ แต่สำหรับสังคมคฤหัสถ์ หามีหมวดใดรวบรวมข้อแนะนำไว้ให้โดยเฉพาะไม่ ถึงแม้ว่าศีลห้าที่ให้เว้นจากการฆ่า ก…

อายุวัฒนกถา
เนื้อหาหลัก / 27 มีนาคม 2526

เป็นตอนที่ 1 จาก 13 ตอนของ ค่านิยมแบบพุทธ

ภาค ๑ ชีวิตกับสังคม อายุวัฒนกถา มีพุทธพจน์แห่งหนึ่งในอังคุตตรนิกาย ตรัสไว้ว่า “ธรรม ๕ ประการนี้ เป็นสิ่งที่คนปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็นของหาได้ยากในโลก กล่าวคือ อายุ วรรณะ สุข ยศ สวรรค์ “ธรรม ๕ ประก…

— หน้าที่ของครูหรือผู้ให้การศึกษา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

หน้าที่ของครูหรือผู้ให้การศึกษา ต่อไปนี้ยังมีเรื่องที่ต้องพูดอีกนิดหน่อย เอาละในแง่เนื้อหาสาระของการศึกษา ถือว่าได้พูดพอสมควรแล้ว ทีนี้จะพูดถึงว่า การศึกษาจะต้องมีองค์ประกอบด้านบุคคล ใครเล่าคือองค์ประ…

— กัลยาณมิตร จุดชนวนความคิด คือให้การศึกษา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 16 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

กัลยาณมิตร จุดชนวนความคิด คือให้การศึกษา เท่าที่กล่าวมาเป็นอันสรุปได้ว่า การมองความหมายหรือตีค่าของมนุษย์นี้มี ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ มองในแง่ของอวิชชาและตัณหา กับมองในแง่ของปัญญา การมองนี้ก็ไปสัมพันธ์กับว…

— หน้าที่ ๒ อย่างของครู
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 4 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

หน้าที่ ๒ อย่างของครู เมื่อทำความเข้าใจกันอย่างนี้แล้ว ก็หันมาหาสิ่งที่อาตมาคิดว่าจะพูดต่อไป อาตมาได้กล่าวไว้แล้วว่า จะลองพิจารณาปรัชญาการศึกษาของพระพุทธศาสนาจากทางภาคปฏิบัติ แล้วเรามาดูจากภาคปฏิบัติน…

— ศิษย์ในฐานะที่เป็นผลผลิตและที่พิสูจน์สัมฤทธิผลของการศึกษา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 35 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ศิษย์ในฐานะที่เป็นผลผลิตและที่พิสูจน์สัมฤทธิผลของการศึกษา ต่อไปก็คือหน้าที่ของศิษย์ ศิษย์มีหน้าที่ในทางการศึกษาอย่างไร นอกจากหน้าที่ที่สัมพันธ์กับหน้าที่ของครูอาจารย์ ในแง่ที่เป็นสิปปทายก คือการรับศิล…