(การพัฒนาความสุข คือการศึกษา)
เนื้อหาหลัก / 28 ตุลาคม 2548

เป็นตอนที่ 3 จาก 9 ตอนของ ข้อคิดเห็นต่อคุณลักษณะเด็กไทยในอนาคต

ความสุขนี่มันมีหลายระดับ การพัฒนามนุษย์ก็คือ การพัฒนาความสุขไปด้วย มนุษย์จะรู้จักความสุขอีกมากมายที่ประณีตสูงขึ้นไป ทีนี้ในเมื่อเขา ไม่มี ไม่รู้จักความสุขที่สูงขึ้นไป เขาก็รู้จักอยู่อย่างเดียวจากการเส…

ไม่อยาก ก็พลาด แต่พออยาก ก็ผิด จะพัฒนาสัมฤทธิ์ ต้องอยากให้เป็น
เนื้อหาหลัก / 22 มกราคม 2536

เป็นตอนที่ 28 จาก 41 ตอนของ สถานการณ์พระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เป็นพัฒนา

ไม่อยาก ก็พลาด แต่พออยาก ก็ผิด จะพัฒนาสัมฤทธิ์ ต้องอยากให้เป็น ทั้งตัณหาและมานะนี้ พระพุทธเจ้าให้ละเสีย สิ่งที่พระองค์ต้องการคือ ให้ปลุกฉันทะขึ้นมา “ฉันทะ” คือความอยากรู้ความจริง อยากให้สิ่งนั้นๆ ดีงา…

การแก้ปัญหาที่ถ่วงการพัฒนาวิทยาศาสตร์ในสังคมไทย
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 37 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

การแก้ปัญหาที่ถ่วงการพัฒนาวิทยาศาสตร์ในสังคมไทย ก. มีแต่วัฒนธรรมเทคโนโลยี ขาดวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ ตอนนี้ประเทศไทยของเรายังมีปัญหาที่ถ่วงการพัฒนาวิทยา­ศาสตร์หลายอย่าง ปัจจุบันนี้เราค่อนข้างจะมีความพรั่ง…

การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
ธรรมนิพนธ์ , หนังสือ / 26 ตุลาคม 2525

“ภิกษุทั้งหลาย เรารู้ชัดถึงคุณของธรรม ๒ ประการ คือ ความเป็นผู้ไม่สันโดษในกุศลธรรมทั้งหลายหนึ่ง ความเป็นผู้ทำความเพียรไม่ระย่อท้อถอยหนึ่ง ดังที่เป็นมา เราตั้งความเพียรไว้ไม่ย่อหย่อนว่า จะเหลือแต่หนัง เ…

ฉันทะทำให้ขยัน ตัณหาทำให้ขี้เกียจ
เนื้อหาหลัก / 26 ตุลาคม 2525

เป็นตอนที่ 6 จาก 7 ตอนของ การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

ฉันทะทำให้ขยัน ตัณหาทำให้ขี้เกียจ ทีนี้ จะขอพูดเรื่องฉันทะอย่างเดียว ฉันทะนี้เป็นเรื่องที่เราจะต้องศึกษาอีก ที่พูดมาเมื่อกี้นี้ว่า ฉันทะ แปลว่า ความชอบ ความพอใจ ความรัก หรือความมีใจรัก แต่ความจริงฉันท…

— อวิชชา – ตัณหา – อัตตา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 12 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

อวิชชา – ตัณหา – อัตตา ทีนี้ ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์ พอครูเห็นศิษย์หน้าตาบึ้งบูดมีพฤติการณ์ไม่น่าพอใจ นั่นคือมองเห็นรูปลักษณ์หนึ่งแล้ว รูปลักษณ์นั้นเป็นรูปลักษณ์ที่ไม่ดี ไม่…

— ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 31 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ ๓. เรื่องต่อไป คุณค่าแท้คุณค่าเทียมจะมีผลทางปฏิบัติอย่างไร จะขอพูดอีกครั้งในเรื่องการสนองความต้องการทางปัญญา และการสนองความต้องการในด้านตัณหา กล่าวคือในการกระทำของคนเรานั้นเราจะ…

— การจัดการกับตัณหา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 17 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

การจัดการกับตัณหา เรื่องที่กล่าวมาในตอนนี้ มีความสำคัญควรสังเกตอีกอย่างหนึ่ง คือ เป็นตอนที่ใช้ตอบปัญหาเรื่องแรงจูงใจหรือแรงขับในการทำการต่างๆ จะเห็นว่า ผู้ที่ศึกษาหรือคุ้นแต่กับจิตวิทยาการศึกษาของฝ่าย…

— สรุปจุดเริ่มของความคิด หรือการมองความหมายและการตีค่า ๒ แบบ
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 10 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

สรุปจุดเริ่มของความคิด หรือการมองความหมายและการตีค่า ๒ แบบ เท่าที่กล่าวมานี้ ก็เป็นตัวอย่างต่างๆ ทีนี้เราลองมาวิเคราะห์กันว่า ในการเริ่มเดินสายความคิด หรือการมองความหมายและตีค่าเหล่านี้ เราแบ่งประเภทใ…