ความเป็นบัณฑิตอยู่ที่ไหน ก็อยู่ที่คุณสมบัติในตัวคน และการสร้างคุณสมบัติของตัวคนนี่แหละ ที่เป็นเป้าหมายของวิชาศึกษาทั่วไป เราเอาคำว่าบัณฑิตมาใช้ แสดงว่าเราให้ความสำคัญแก่คุณสมบัติในตัวคน ที่จะให้เขาเปลี่ยนแปลงจากคนเปล่าๆ ที่ไม่มีคุณสมบัติ หรือจากคนเดิม ที่ไม่พร้อมจะอยู่จะทำอะไร มาเป็นคนที่มีคุณสมบัติเป็นบัณฑิต
จุดมุ่งหมายของการศึกษาทั่วไป
- พัฒนามนุษย์ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
- พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งที่มนุษย์เกี่ยวข้อง
- พัฒนามนุษย์ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกาลเวลายุคสมัยและความเปลี่ยนแปลง
- พัฒนามนุษย์ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทศะ
- พัฒนาศักยภาพของมนุษย์
- พัฒนาปัญญาซึ่งเป็นแกนกลางของการพัฒนามนุษย์ให้มีศักยภาพ
สารบัญ — การศึกษาทั่วไปเพื่อสร้างบัณฑิต
การศึกษาเพื่อสร้างบัณฑิต หรือ การศึกษาเพื่อเพิ่มผลผลิต
- พัฒนาคน หรือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- พัฒนาคนให้เป็นบัณฑิต หรือให้เพิ่มผลผลิต
- เอาปราชญ์มาสอนให้นำสังคมได้ เอาผู้เชี่ยวชาญมาสอนให้ตามสนองสังคมทัน
- อาการฟูยุบในวงวิชาการ
- ตัววิชาก็มีปัญหาต้องรู้เท่าทัน
- การปรับตัวปรับความคิดใหม่ในวงวิชาการ
- จะพัฒนาคน แต่ความคิดก็ยังพร่าสับสน
- พัฒนาอย่างไรจะได้คนเต็มคน
- รู้อย่างไรว่าพัฒนาแล้วเป็นคนเต็มคน
- กระแสโลกาภิวัตน์ที่ไทยต้องปรับตัวให้ทัน
- จะปรับตัวอย่างไร ไทยจึงจะฟื้นตัวทัน
- พัฒนาทั้งให้เป็นคนไทยและให้เป็นคนที่สร้างสรรค์อารยธรรม
ศิลปศาสตร์ในฐานะเป็นวิชาพื้นฐาน
- แง่ที่ ๑ ศิลปศาสตร์มองโดยความสัมพันธ์กับวิชาชีพ และวิชาเฉพาะต่างๆ
- แง่ที่ ๒ ศิลปศาสตร์ มองโดยความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ สิ่งที่มนุษย์เกี่ยวข้องเพื่อให้ดำรงชีวิตอยู่ด้วยดี
- แง่ที่ ๓ ศิลปศาสตร์ มองโดยสัมพันธ์กับกาลเวลา ยุคสมัยและความเปลี่ยนแปลง
- แง่ที่ ๔ ศิลปศาสตร์ มองในแง่เทศะ
- แง่ที่ ๕ ศิลปศาสตร์ มองในแง่การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์
- แง่ที่ ๖ ศิลปศาสตร์มองในแง่การพัฒนาปัญญาที่เป็นแกน ของการพัฒนาศักยภาพและการเข้าถึงอิสรภาพ
No Comments
Comments are closed.