ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ ข้อที่จะพึงพูดในเบื้องต้นก็คือ เศรษฐกิจนี้เป็นกิจกรรมของมนุษย์ เป็นเรื่องของมนุษย์แท้ๆ เลยทีเดียว และวิชาเศรษฐศาสตร์นั้นก็เป็นความพยายามด้านหนึ่ง ที่จะแก้ปัญหาของม…
จากความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หันมาสัมพันธ์กับวิชาการอื่น แต่ก่อนอื่น ก็จะต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์นิดหน่อยด้วยเช่นกันว่า เศรษฐศาสตร์สมัยใหม่นี้เป็นวิทยาการที่มาจากตะวันตก เกิดขึ้นในตะวันตก…
จากคุณค่าแท้/คุณค่าเทียม สู่พฤติกรรมในการบริโภค จากหลักความต้องการสองแบบ ก็นำไปสู่หลักที่เรียกว่า คุณค่าแท้และคุณค่าเทียม เพราะฉะนั้นในตอนนี้ เราจึงหันมาพิจารณาเรื่องคุณค่าของสิ่งทั้งหลาย การที่มนุษย์…
ธรรมที่เป็นเนื้อแท้ของเศรษฐศาสตร์ ทีนี้จะก้าวต่อไปสู่ความหมายที่สองของธรรม คือเศรษฐศาสตร์กับสัจธรรม ที่พูดมาเมื่อกี้ ในเรื่องเศรษฐศาสตร์กับธรรมในแง่จริยธรรมนั้น จริยธรรมยังพอแยกออกจากเศรษฐศาสตร์ได้บ้า…
ความต้องการ ในทรรศนะของเศรษฐศาสตร์และพุทธศาสตร์ เมื่อได้พูดถึงธรรมชาติของมนุษย์ ในความเข้าใจทางพระพุทธศาสนาทั่วไป และได้โยงเข้ามาสู่แง่ที่สัมพันธ์กับเศรษฐกิจแล้ว ก็มีหัวข้อที่ควรยกออกมาพูดแยกเป็นประเด…
ธรรมชาติของมนุษย์เอื้อต่อการพัฒนาสู่ความสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม ธรรมชาติของมนุษย์ไม่จบเพียงเท่านี้ พุทธศาสตร์บอกต่อไปว่า มนุษย์มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองได้ ในเมื่อปัญหาเกิดจากความไม่รู้ แล้วเป็นอยู่ด้วยอว…
ความสำคัญและความสัมพันธ์ของเศรษฐกิจ ในระบบของพุทธธรรม มีข้อพิจารณาสืบเนื่องต่อไปว่า พฤติกรรมหรือกิจกรรมและผลได้ทางเศรษฐกิจมีความหมายสำคัญในแง่ของพุทธธรรมอย่างไรบ้าง ตอบโดยสรุปคือ ๑. เป็นปัจจัย หรือเป็…
สองนัยของธรรม ที่สัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์ ทีนี้ก็อย่างที่อาตมภาพได้กล่าวแล้วแต่เบื้องต้นว่า เมื่อได้ยินหัวข้อว่าเศรษฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ หลายท่านก็จะมองไปว่า คงจะเป็นการพูดเรื่องจริยธรรมเกี่ยวกับเศรษ…
ไม่ถูกต้องตามธรรม จึงไม่เป็นวิทยาศาสตร์ ต่อไปประการที่สี่ ในกระบวนการของธรรมชาติที่ว่า มีความเป็นเหตุเป็นผลเป็นปัจจัยต่อกัน ซึ่งซับซ้อนอย่างมากนั้น สิ่งสำคัญอย่างหนึ่งก็คือการจับเหตุและผลให้ตรงกัน ว่า…
ธรรมชาติของมนุษย์ตามทรรศนะของพุทธศาสตร์ ว่าโดยรวบรัด พุทธศาสตร์มองว่า มนุษย์เกิดมามีอวิชชา อวิชชา คือ ความไม่รู้และยังไม่รู้ ทำให้มนุษย์มีความจำกัดขัดข้องในการที่จะดำเนินชีวิตให้อยู่รอดด้วยดี ซึ่งเราจ…