พัฒนาฉันทะ ลดละตัณหา
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 24 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

พัฒนาฉันทะ ลดละตัณหา วิธีการพัฒนาความสุข คือ วิธีการพัฒนาให้ลดละตัณหาหรือความอยากที่ผิดทาง เป็นอย่างแรก ก่อนที่จะถึงความสุขที่เป็นอิสระจากตัณหา ก่อนอื่นการพัฒนาให้เกิดความสุข คือ การพัฒนาเรื่องความอยา…

ผู้บริโภคมีอำนาจต่อรองกับผู้ผลิต
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 14 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ผู้บริโภคมีอำนาจต่อรองกับผู้ผลิต พระพรหมคุณาภรณ์ นี่เองที่ผู้บริโภคสามารถใช้อำนาจของตนได้ และก็คือ วิธีการขยายการแข่งขัน ทำไมเราจึงจำกัดคำว่าการแข่งขันเพียงแค่ พวกทำธุรกิจด้วยกันเอง นักธุรกิจควรแข่งขั…

ต้องพัฒนา Intellectual Freedom ให้เกิดมีขึ้นในผู้บริโภค
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 13 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ต้องพัฒนา Intellectual Freedom ให้เกิดมีขึ้นในผู้บริโภค พระพรหมคุณาภรณ์ อาตมาว่า อันนี้เป็นเรื่องของผลประโยชน์ขัดกัน (Conflict of Interests) อาตมาคิดว่ายังมีอีกประเด็นที่อยากจะพูดถึง คือ เราควรขยายควา…

พระพุทธเจ้าทรงอธิบายปฏิจจสมุปบาท ตามสติปัญญาของผู้ฟัง
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 36 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

พระพุทธเจ้าทรงอธิบายปฏิจจสมุปบาท ตามสติปัญญาของผู้ฟัง มันขึ้นอยู่กับว่าเราอธิบายให้ใครฟัง เพราะพระพุทธเจ้าและอาจารย์ทั้งหลาย อธิบายหลักปฏิจจสมุปบาทให้กับคนหลายประเภท สำหรับคนประเภทที่มีปัญญามากหน่อย ก…

ธุรกิจอยู่ไม่ได้ ถ้าผู้บริโภคไม่ซื้อสินค้า หรือไม่ใช้บริการ
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 15 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ธุรกิจอยู่ไม่ได้ ถ้าผู้บริโภคไม่ซื้อสินค้า หรือไม่ใช้บริการ พระพรหมคุณาภรณ์ ปัจจุบัน หลายสิ่งหลายอย่างที่ไม่จำเป็น ได้กลายเป็นสิ่งจำเป็น ในการต่อสู้ระหว่างวงจรธุรกิจ และวงจรผู้บริโภค นี่คือความจำเป็นท…

แหล่งข้อมูลคำสอนในพระพุทธศาสนา
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 26 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

แหล่งข้อมูลคำสอนในพระพุทธศาสนา พระพรหมคุณาภรณ์ มันขึ้นอยู่กับแหล่งข้อมูล อย่างที่คุณคงรู้ คัมภีร์ในทางเถรวาท และคัมภีร์ในทางมหายาน รวมถึงวัชรยาน มีความแตกต่างกัน พระพุทธศาสนาสายเถรวาทถือตามพระไตรปิฎกบ…

ความปรารถนาที่ดีงามคือฉันทะ
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 25 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ความปรารถนาที่ดีงามคือฉันทะ พระพรหมคุณาภรณ์ เมตตารวมอยู่ในนี้ด้วย อาตมาพูดให้กว้างออกไป แต่ที่จริงมันเป็นลักษณะจิตใจอันเดียวกัน เมื่อคนพัฒนาขึ้นไปมันจะมาด้วยกันเอง และมันปรับเปลี่ยนตัวเองไปตามสถานการณ…

ศรัทธาและปัญญาไม่ใช่คู่แข่งขัน
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 32 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ศรัทธาและปัญญาไม่ใช่คู่แข่งขัน พระพรหมคุณาภรณ์ นี่คือวิธีการที่เขาแปลคำศัพท์ให้พอเข้าใจ แต่คำในภาษาบาลี คือ มิตตะ มิตตะ คือ เพื่อน แต่เพื่อนในที่นี้ อาจเป็นพ่อ เป็นแม่ เป็นครู เป็นอาจารย์ เป็นผู้แนะนำ…

ความสำเร็จที่แท้จริงของนักธุรกิจ
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 16 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ความสำเร็จที่แท้จริงของนักธุรกิจ ในเวลาเดียวกัน เราก็ต้องให้การศึกษาพวกนักธุรกิจด้วย สอนให้เขารู้จักที่จะมีความสุข เพราะพวกเขาก็ต้องการความสุขด้วยเช่นกัน ความสุขชนิดไหนที่เขาควรจะพัฒนาให้เกิดมีต่อไป แ…

ดุลยภาพของอิสรภาพทั้ง ๔
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 12 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ดุลยภาพของอิสรภาพทั้ง ๔ พระพรหมคุณาภรณ์ ข้อกำหนดบางอย่างควรจัดให้มีขึ้น แต่ที่ดียิ่งกว่านั้นก็คือ มันต้องสมดุล เราไม่ควรเห็นว่า เรื่องนี้แยกจากอิสรภาพ ๔ ระดับ ขั้นแรก คือ สามารถทำให้สมดุล ต่อมาก็มีควา…