ทางสายกลางของการศึกษาไทย
ธรรมนิพนธ์ , หนังสือ / 24 มิถุนายน 2530

…การศึกษาจะต้องถือเป็นหน้าที่ที่จะทำให้คนมีความสุข ปัจจุบันนี้มีปัญหาว่า เราได้ถือหน้าที่นี้เป็นสิ่งสำคัญหรือไม่ การศึกษาปัจจุบันทำคนให้มีความสุข หรือทำให้คนเป็นคนหิวโหยกระหายความสุข ถ้าดำเนินกา…

เทคโนโลยีกับศาสนา

…แม้ว่าโลกสมัยปัจจุบันจะเจริญด้วยเทคโนโลยี มีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกสบายพรั่งพร้อมแทบทุกประการ แต่เทคโนโลยีนั้นก็เป็นเพียงเครื่องประกอบของชีวิต มีขอบเขตจำกัดเพียงเป็นปัจจัยเครื่องอาศัยมีคุณและมีโท…

ความตายคือคติธรรมแห่งชีวิต และการบำเพ็ญกุศลเพื่อรำลึกถึงผู้ล่วงลับไปแล้ว

… ถ้าเรารู้คติธรรมดาของชีวิตอย่างที่กล่าวมามากแล้ว ว่าเราอยู่กันไปไม่ช้าไม่นานก็ต้องแยกย้ายกันไปทั้งหมดนี้ เราก็ควรจะอยู่ด้วยความเมตตาปราณี เอื้อเฟื้อเกื้อกูลต่อกัน …  

การศึกษาของคณะสงฆ์: ปัญหาที่รอทางออก

…วัดยังคงมีคุณค่าอันอนันต์แก่สังคมไทย แต่คุณประโยชน์ส่วนใหญ่เป็นไปอย่างซึมๆ ซ่อนๆ และเฉื่อยชา จึงไม่ใคร่มีใครมองเห็น รัฐและหน่วยงานผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคมไทย น่าจะใส่ใจศึกษาสืบค้นให้เข้าใจ แล…

หลักกรรมสำหรับคนสมัยใหม่
ธรรมนิพนธ์ , หนังสือ / 17 พฤษภาคม 2529

กรรมเป็นเรื่องของความเป็นไปตามเหตุปัจจัย พระพุทธศาสนาถือหลักการใหญ่ที่ครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่าง คือ ความเป็นไปตามเหตุปัจจัยและเรื่องกรรมก็อยู่ในกฎแห่งเหตุปัจจัยนี้  

ความเป็นอนิจจังของสังขารกับอิสรภาพของสังคม
หนังสือ , ธรรมนิพนธ์ / 10 พฤษภาคม 2529

อิสรภาพของบุคคลก็ดี อิสรภาพของสังคมก็ดี ต้องอาศัยความรู้ในเรื่องอนิจจังด้วยกันทั้งนั้น ในแง่ของอิสรภาพส่วนบุคคลหรืออิสรภาพทางด้านจิตปัญญาของบุคคลนั้น การที่เรารู้เท่าทันความจริงของสิ่งทั้งหลายว่า เป็น…

ความเป็นอนิจจังของสังขาร กับอิสรภาพของสังคม
ธรรมนิพนธ์ , หนังสือ / 10 พฤษภาคม 2529

ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งทั้งหลาย มิใช่เป็น การเปลี่ยนแปลงไปอย่างเลื่อนลอย แต่เปลี่ยนแปลงไปตามเหตุปัจจัย เมื่อสิ่งทั้งหลายเปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่เลื่อนลอย เปลี่ยนแปลงไปตามเหตุปัจจัย มันก็มีผลรวมออกมา คือมี…

ชาวพุทธต้องเป็นผู้ตื่น
ธรรมนิพนธ์ , หนังสือ / 21 พฤศจิกายน 2528

พุทธะคืออะไร พุทธะนั้นเราแปลกันว่าตรัสรู้ หรือมิฉะนั้นก็แปลว่าตื่น หรือไม่ก็แปลว่าเบิกบาน ผู้ตรัสรู้แล้ว ตื่นแล้ว เบิกบานแล้ว ข้อที่อยากจะให้พิจารณาในที่นี้ คือ ความหมายที่ว่าตื่นแล้ว หรือ ผู้ที่ตื่นแ…

โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
ธรรมนิพนธ์ , หนังสือ / 3 พฤศจิกายน 2528

…กายกับใจนั้นเป็นสิ่งที่อาศัยกันและกัน พอกายเจ็บป่วยไม่สบาย คนทั่วไปก็มักจะพาลจิตใจไม่สบาย เศร้าหมอง กระวนกระวาย กระสับกระส่ายไปด้วย และในทำนองเดียวกัน เมื่อจิตใจไม่สบายก็พลอยให้กายไม่สบายไปด้วย…