พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม ความนำ ปัจจุบันนี้ ทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศผู้นำที่พัฒนาแล้วทั้งหลาย ได้รู้ตระหนักว่า การพัฒนาตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ซึ่งมุ่งสร้างความเจริญพรั่งพร้อมทางวัตถุ โดยเน้นความเติบโต…
๑. จุดหมายของการพัฒนาคนและสังคม ชีวิตจะดีงามมีความสุข ประเทศชาติจะรุ่งเรืองมั่นคง และสังคมจะร่มเย็นเกษมศานต์ ด้วยปัจจัยสำคัญที่สุด คือ การพัฒนาคน ซึ่งจะทำให้คนเป็นคนดีมีความสุข และเป็นทรัพยากรมนุษย์ที…
๑. จุดหมายขั้นตาเห็น หรือประโยชน์ปัจจุบันทันตา (ทิฏฐธัมมิกัตถะ) ที่สำคัญคือ ก) ความมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง สง่างาม ไร้โรค ตลอดจนมีอายุยืนยาว ข) ความมีทรัพย์สินเงินทอง อย่างน้อยมีอาชีพการงาน พึ่งตนได…
อนึ่ง ประโยชน์หรือจุดหมาย (อัตถะ) ทั้ง ๒ หรือ ๓ ระดับนี้ แยกออกไปอีกเป็น ๓ ด้าน ซึ่งบัณฑิตที่แท้จริงจะต้องบำเพ็ญให้สำเร็จ คือ ๑. ประโยชน์ตน (อัตตัตถะ) คือ ประโยชน์ ๓ ระดับที่กล่าวข้างต้นนั้น ที่พึงทำใ…
๒. หลักการของการศึกษา การศึกษา(สิกขา) แยกซอยออกไปเป็น ๓ ด้าน โดยสอดคล้องกับองค์ประกอบแห่งการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่มี ๓ ด้าน คือ พฤติกรรม จิตใจ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา ซึ่งมีสาระสำคัญดังนี้
๑. ศีล คือ การฝึกฝนพัฒนาด้านพฤติกรรม หมายถึง การพัฒนาพฤติกรรม ทางกาย และวาจา ให้มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้องมีผลดี สิ่งแวดล้อมที่เราเกี่ยวข้องสัมพันธ์ มี ๒ ประเภท คือ ก. สิ่งแวดล้อมทางสังค…
๒. สมาธิ หมายถึง การฝึกฝนพัฒนาในด้านจิตใจ มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะจิตใจเป็นฐานของพฤติกรรม เนื่องจากพฤติกรรมทุกอย่างเกิดขึ้นจากความตั้งใจหรือเจตนา และเป็นไปตามเจตจำนงและแรงจูงใจที่อยู่เบื้องหลัง ถ้าจ…
๓. ปัญญา หมายถึง การพัฒนาปัญญา ซึ่งมีความสำคัญสูงสุด เพราะปัญญาเป็นตัวนำทางและควบคุมพฤติกรรมทั้งหมด คนเราจะมีพฤติกรรมอะไร อย่างไร และแค่ไหน ก็อยู่ที่ว่าจะมีปัญญาชี้นำหรือบอกทางให้เท่าใด และปัญญาเป็นตั…
๓. กิจกรรมที่เกื้อหนุนกระบวนการของการศึกษา สำหรับชาวพุทธที่เป็นชาวบ้านทั่วไป มีหลักธรรมชุดหนึ่งที่รู้จักกันดี เป็นข้อปฏิบัติสำคัญที่ขยายไตรสิกขาลงมาสู่ชีวิตและสังคมในวงกว้าง ซึ่งชีวิตของคนส่วนใหญ่มีคว…
๑. ทาน คือการให้ การเผื่อแผ่แบ่งปัน ที่ควรเน้น คือ ก) การถวายทานแก่พระภิกษุสามเณร ในฐานะที่ท่านปฏิบัติธรรมเป็นแบบอย่าง และเป็นผู้ดำรงธรรมไว้ให้แก่สังคม ในเมื่อท่านอุทิศชีวิตให้แก่ธรรม ด้วยการเล่าเรียน…