พระพุทธศาสนา กับประชาธิปไตย
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2526

เป็นตอนที่ 1 จาก 15 ตอนของ พุทธศาสนากับสังคมไทย

พระพุทธศาสนากับประชาธิปไตย   ท่านสหธรรมิกและท่านสาธุชนทั้งหลาย การพูดเรื่องพุทธศาสนากับประชาธิปไตยในวันนี้ ท่านผู้ดำเนินรายการ ได้วางแนวการพูดไว้กว้างๆ ส่วนหนึ่งแล้ว สำหรับอาตมภาพเห็นว่าแนวของเรื…

พระพุทธศาสนากับสังคมที่กำลังเปลี่ยนแปลง
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2526

เป็นตอนที่ 2 จาก 15 ตอนของ พุทธศาสนากับสังคมไทย

พระพุทธศาสนากับสังคมที่กำลังเปลี่ยนแปลง วันนี้อาตมารู้สึกเป็นสิริมงคลที่ได้มีโอกาสมาแสดงธรรมกถาในสถานที่นี้ ซึ่งมีผู้ใฝ่รู้ทางวิชาการและใฝ่ความรู้ทางธรรม เรื่องที่จะพูดในวันนี้ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพ…

เอกลักษณ์กับไตรลักษณ์
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2526

เป็นตอนที่ 3 จาก 15 ตอนของ พุทธศาสนากับสังคมไทย

เอกลักษณ์กับไตรลักษณ์ ขอเจริญพรท่านสาธุชนทั้งหลาย ทั้งท่านผู้จัดสัมมนาและท่านผู้ร่วมสัมมนาทุกท่าน อาตมภาพมีความยินดีที่ได้มีโอกาสมาร่วมแสดงความคิดเห็นในที่นี้ ในตอนแรกที่อาจารย์สุลักษณ์นิมนต์ไปนั้น อา…

เกณฑ์วินิจฉัย ความหมายและคุณค่าของพุทธธรรม
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2526

เป็นตอนที่ 4 จาก 15 ตอนของ พุทธศาสนากับสังคมไทย

เกณฑ์วินิจฉัย ความหมายและคุณค่า ของพุทธธรรม ขอเจริญพร ท่านอาจารย์คณบดี ท่านประธานกรรมการมูลนิธิเสถียรโกเศศ-นาคะประทีป ท่านรองประธานโครงการตำราฯ และท่านสาธุชนทั้งหลาย อาตมภาพรู้สึกเป็นสิริมงคล ที่ได้มี…

ทำอย่างไรจึงจะให้เชื่อเรื่องกรรม
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2526

เป็นตอนที่ 5 จาก 15 ตอนของ พุทธศาสนากับสังคมไทย

ทำอย่างไรจึงจะให้เชื่อเรื่องกรรม แยกออกไปพิมพ์เป็นเรื่องเดี่ยวในชื่อ “ทำอย่างไรจะให้เชื่อเรื่องกรรม“

สันโดษ
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2526

เป็นตอนที่ 6 จาก 15 ตอนของ พุทธศาสนากับสังคมไทย

สันโดษ ในการปฏิบัติธรรม ผู้ปฏิบัติจำต้องเข้าใจความหมายของธรรมที่ตนปฏิบัติอย่างถ่องแท้ ต้องรู้แนวทางหรือวิธีปฏิบัติ และที่สำคัญยิ่งคือต้องรู้จุดหมายของธรรมข้อนั้น ที่สัมพันธ์กับธรรมข้ออื่นด้วย มิฉะนั้น…

วรรณะ
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2526

เป็นตอนที่ 7 จาก 15 ตอนของ พุทธศาสนากับสังคมไทย

วรรณะ การแบ่งชั้นกันในหมู่ประชาชนเป็นลักษณะที่มีอยู่ในสังคมทั่วไป ไม่ว่าในยุคสมัย หรือถิ่นฐานใด แต่การแบ่งชนชั้นที่มีชื่อว่า วรรณะ เป็นลักษณะพิเศษของสังคมอินเดียโดยเฉพาะ ซึ่งหาเทียบไม่ได้ในสังคมอื่น ว…

การศึกษาพระพุทธศาสนา โดยวิธีการเปรียบเทียบกับศาสนาพราหมณ์
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2526

เป็นตอนที่ 8 จาก 15 ตอนของ พุทธศาสนากับสังคมไทย

การศึกษาพระพุทธศาสนา โดยวิธีการเปรียบเทียบกับศาสนาพราหมณ์ เนื่องด้วยพระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นให้ท่ามกลางสังคมที่เชื่อถือ และดำเนินชีวิตตามหลักศาสนาพราหมณ์ และหลักคำสอนจำนวนมากในพระพุทธศาสนาเกิดขึ้นด้วยคว…

ตบะ
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2526

เป็นตอนที่ 9 จาก 15 ตอนของ พุทธศาสนากับสังคมไทย

ตบะ เมื่อความเชื่อถือในศาสนาพราหมณ์ยังอยู่ในขั้นความนับถือเทพเจ้าประจำส่วนต่างๆ ของธรรมชาติ ตลอดถึงมีเทพเจ้าสูงสุด คือพระพรหม เป็นผู้สร้างทุกสิ่งทุกอย่าง (กำหนดคร่าวๆ ในยุคสังหิตาและพราหมณะ) ในระยะนี้…

โยคะ
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2526

เป็นตอนที่ 10 จาก 15 ตอนของ พุทธศาสนากับสังคมไทย

โยคะ ปรัชญาฮินดู ๖ สาขา การอุบัติแห่งพระพุทธศาสนา และศาสนาไชนะ (ในภาษาไทยนิยมเรียกว่าศาสนาเชน) ซึ่งเป็นศาสนาคัดค้านพระเวท ในศตวรรษที่ ๖ ก่อน ค.ศ. ได้เป็นเหตุให้มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างมากมา…