จุดเริ่มและจุดปลายแห่งสัมฤทธิผลของการศึกษา
เนื้อหาหลัก / 8 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 19 จาก 20 ตอนของ แง่คิด ข้อสังเกตเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา

จุดเริ่มและจุดปลายแห่งสัมฤทธิผลของการศึกษา ขอข้ามไปถึงข้อแปดเลย คือ เรื่องสัมฤทธิผลของการศึกษา การสัมฤทธิ์ผลของการศึกษามี ๒ จุด คือจุดเริ่มกับจุดปลาย จุดเริ่มก็คือตอนที่คนเริ่มเข้าสู่กระบวนการศึกษา หร…

คนใฝ่เสพ มองเศรษฐกิจเป็นจุดหมาย คนใฝ่สร้างสรรค์ มองเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเป็นปัจจัย
เนื้อหาหลัก / 8 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 13 จาก 20 ตอนของ แง่คิด ข้อสังเกตเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา

คนใฝ่เสพ มองเศรษฐกิจเป็นจุดหมาย คนใฝ่สร้างสรรค์ มองเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเป็นปัจจัย เวลานี้ปัญหาแห่งอารยธรรมได้เกิดขึ้น ซึ่งพวกเราก็คงทราบ ยกตัวอย่าง เช่น เรื่องของประเทศอเมริกาที่ว่า พอเจริญมากขึ้นทำไม…

ปฏิรูปการศึกษา คือกลับไปหาธรรมชาติ ที่มนุษย์เป็นสัตว์แห่งการเรียนรู้
เนื้อหาหลัก / 8 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 5 จาก 20 ตอนของ แง่คิด ข้อสังเกตเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา

ปฏิรูปการศึกษา คือกลับไปหาธรรมชาติ ที่มนุษย์เป็นสัตว์แห่งการเรียนรู้ เมื่อมาถึงการที่จะให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ เราก็มีศัพท์ต่างๆ ที่พูดมาก่อนหน้านี้และก็เน้นกันว่า ให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต การศึก…

เมื่ออารยธรรมถึงยุคไอที บทบาทที่แท้ของครูจะต้องเด่นขึ้นมา
เนื้อหาหลัก / 8 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 3 จาก 20 ตอนของ แง่คิด ข้อสังเกตเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา

เมื่ออารยธรรมถึงยุคไอที บทบาทที่แท้ของครูจะต้องเด่นขึ้นมา เวลานี้อารยธรรมของมนุษย์ที่บอกว่าเจริญมาก ได้มาถึงยุคที่มีชื่อเรียกต่างๆ หลายอย่าง อย่างหนึ่งก็คือเรียกว่า ยุคของ “ไอที” หรือยุคของ Informatio…

การศึกษา กับ อารยธรรม
เนื้อหาหลัก / 8 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 2 จาก 20 ตอนของ แง่คิด ข้อสังเกตเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา

การศึกษา กับ อารยธรรม การปฏิรูปการศึกษา นั้นเป็นเรื่องใหญ่ เมื่อสักครู่ได้ฟังจากท่านอธิบดีว่า เป็นเรื่องที่กระทรวงศึกษาธิการกำลังเน้นมาก แต่ในเวลาที่สั้นนี้คงพูดโดยตรงให้หมดไม่ได้ จึงคงจะพูดในทำนอง “แ…

การศึกษาที่ดีช่วยให้คนมีวิธีที่จะรักษาอิสรภาพทางด้านความสุข
เนื้อหาหลัก / 8 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 17 จาก 20 ตอนของ แง่คิด ข้อสังเกตเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา

การศึกษาที่ดีช่วยให้คนมีวิธีที่จะรักษาอิสรภาพทางด้านความสุข นี่เป็นตัวอย่างหนึ่ง ยังมีอีกมาก แต่สิ่งหนึ่งที่ควรพูดไว้ด้วย ก็คือ เราควรมีวิธีรักษาอิสรภาพในการที่จะมีความสุข เพราะว่าโดยทั่วไป คนเราย่อมม…

“มองเชิงจุดหมาย” หรือ “มองเชิงปัจจัย” จุดตัดสินเทคโนโลยีเพื่อหายนะหรือเพื่อพัฒนา
เนื้อหาหลัก / 8 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 11 จาก 20 ตอนของ แง่คิด ข้อสังเกตเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา

“มองเชิงจุดหมาย” หรือ “มองเชิงปัจจัย” จุดตัดสินเทคโนโลยีเพื่อหายนะหรือเพื่อพัฒนา เมื่อพูดถึงเรื่องความสุข ตอนนี้จะแทรกเรื่องความสัมพันธ์กับวัตถุต่างๆ โดยเฉพาะกับเทคโนโลยีว่า ทำอย่างไรจะให้ความสัมพันธ์…

“สังฆะ” คือชุมชนแห่งการศึกษา เพื่อพัฒนาให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้
เนื้อหาหลัก / 8 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 6 จาก 20 ตอนของ แง่คิด ข้อสังเกตเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา

“สังฆะ” คือชุมชนแห่งการศึกษา เพื่อพัฒนาให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างพระพุทธเจ้าตั้งคณะสงฆ์ขึ้นมาเป็นชุมชนเพื่ออะไร ก็เพื่อจะให้คนที่ต้องการฝึกหัดพัฒนาตัวเองได้เข้ามาฝึกฝนพัฒนาตัวเองได้เต็มที่ พอตั…

การศึกษาที่ถูกต้องทำให้เกิดดุลยภาพในการพัฒนา ระหว่างความสามารถหาสิ่งบำเรอสุข กับความสามารถที่จะมีความสุข
เนื้อหาหลัก / 8 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 16 จาก 20 ตอนของ แง่คิด ข้อสังเกตเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา

การศึกษาที่ถูกต้องทำให้เกิดดุลยภาพในการพัฒนา ระหว่างความสามารถหาสิ่งบำเรอสุข กับความสามารถที่จะมีความสุข ทีนี้ขอหวนกลับมาเรื่องความสุขอีกครั้งหนึ่ง ความสุขนั้นเกี่ยวข้องกับการศึกษาไปโดยตลอด และยิ่งพัฒ…

การศึกษาไม่เดินหน้า ทั้งชีวิตและสังคมไม่พัฒนา เพราะมัวหาความสุขจากสิ่งกล่อม
เนื้อหาหลัก / 8 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 15 จาก 20 ตอนของ แง่คิด ข้อสังเกตเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา

การศึกษาไม่เดินหน้า ทั้งชีวิตและสังคมไม่พัฒนา เพราะมัวหาความสุขจากสิ่งกล่อม สิ่งที่จะทำให้คนอ่อนแออีกอย่างหนึ่งคือ สิ่งกล่อม อย่างเทคโนโลยี ถ้าใช้ผิดก็เป็นสิ่งกล่อม สิ่งกล่อมช่วยให้คนเพลินสบายหลบปัญหา…