การศึกษาจะดำเนินไป มีปัจจัยช่วยเกื้อหนุน ขอย้อนย้ำว่า มรรค คือการดำเนินชีวิตหรือวิถีชีวิตที่ดี แต่จะดำเนินชีวิตดีได้ก็ต้องมีการฝึกฝนพัฒนา ดังนั้นจึงต้องมีการฝึกศึกษาที่เรียกว่า สิกขา มรรค เป็นจุดหมายข…
ปฏิบัติการฝึกศึกษาด้วยสิกขา แล้ววัดผลด้วยภาวนา ได้อธิบายแล้วข้างต้นว่า สิกขา ที่ท่านจัดเป็น ๓ อย่าง ดังที่เรียกว่า “ไตรสิกขา” นั้น เพราะเป็นไปตามความเป็นจริงในการปฏิบัติ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาแห่งธรรมชา…
ระบบไตรสิกขาเพื่อการพัฒนาอย่างองค์รวมในทุกกิจกรรม ได้กล่าวแล้วว่า ในกระบวนการพัฒนาของไตรสิกขานั้น องค์ทั้ง ๓ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา จะทำงานประสานโยงส่งผลต่อกัน เป็นระบบและกระบวนการอันหนึ่งอันเดียว แต่เมื…
ศักยภาพของมนุษย์ คือจุดเริ่มของพระพุทธศาสนา ความจริงแห่งธรรมชาติของมนุษย์ในข้อที่ว่า มนุษย์เป็นสัตว์ที่ฝึกได้นี้ พระพุทธศาสนาถือเป็นหลักสำคัญ ซึ่งสัมพันธ์กับความเป็นพระศาสดา และการทรงทำหน้าที่ของพระพุ…
ระบบแห่งสิกขา เริ่มด้วยจัดปรับพื้นที่ให้พร้อมที่จะทำงานฝึกศึกษา ไตรสิกขา เป็นการศึกษา ๓ ด้าน ที่พัฒนาชีวิตไปพร้อมกันทั้งระบบ แต่ถ้ามองหยาบๆ เป็นภาพใหญ่ ก็มองเห็นเป็นการฝึกศึกษาที่ดำเนินไปใน ๓ ด้าน/ขั้…
ชีวิตที่ดี คือชีวิตที่ศึกษา เมื่อพัฒนาคนด้วยไตรสิกขา ชีวิตก็ก้าวไปในอริยมรรคา ชีวิตนั้นเป็นอันเดียวกันกับการศึกษา เพราะชีวิตคือการเป็นอยู่ และการที่ชีวิตเป็นอยู่ดำเนินไป ก็คือการที่ต้องเคลื่อนไหว พบปร…
เนื้อหาของหนังสือตัดตอนมาจาก บทเพิ่มเติมในหนังสือพุทธธรรม(ฉบับเดิม) นำมาพิมพ์แยกเล่ม ชี้ให้เห็นถึงศักยภาพของมนุษย์ที่สามารถฝึกได้ โดยเน้นการฝึกพัฒนาตนด้วยการศึกษาตามหลักไตรสิกขา เชื่อมโยงเข้าหาอร…
การศึกษา[ที่สังคม]จัดตั้ง ต้องไม่บดบังการศึกษาที่แท้ของชีวิต การศึกษาที่จัดทำกันอย่างเป็นงานเป็นการ เป็นกิจการของรัฐของสังคม ก็คือการยอมรับความสำคัญและดำเนินการในขั้นของ ปัจจัยข้อที่ ๑ คือ ความมีกัลยา…
ชีวิตมี ๓ ด้าน การฝึกศึกษาก็ต้องประสานกัน ๓ ส่วน พัฒนาคนแบบองค์รวม จึงเป็นเรื่องธรรมดาของการศึกษา ชีวิต และการดำเนินชีวิตของมนุษย์นั้น แยกได้เป็น ๓ ด้าน คือ ๑. ด้านสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม การดำเนินชีวิ…
ชีวิตทั้ง ๓ ด้าน การศึกษาทั้ง ๓ ขั้น ประสานพร้อมไปด้วยกัน ๒. อินทรียสังวร แปลตามแบบว่า การสำรวมอินทรีย์ หมายถึง การใช้อินทรีย์ เช่น ตาดู หูฟัง อย่างมีสติ มิให้ถูกความโลภ ความโกรธ ความแค้นเคือง ความหลง…