ความสดใสที่ไม่พ้นความสับสน
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 11 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ความสดใสที่ไม่พ้นความสับสน เพราะฉะนั้น มันก็ชักจะมีวิทยาศาสตร์ที่ต่างกันในเวลาเดียวกัน วิทยาศาสตร์ที่ต่างกันในเวลาเดียวกัน นอกจากวิทยาศาสตร์เก่ากับวิทยา­ศาสตร์ใหม่ หรือฟิสิกส์เก่ากับฟิสิกส์ใหม่แล้ว ก็…

วิทยาศาสตร์เดียว ศาสนาเดียวหรือศาสนากับวิทยาศาสตร์ที่เป็นหนึ่งเดียว
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 12 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์เดียว ศาสนาเดียว หรือศาสนากับวิทยาศาสตร์ที่เป็นหนึ่งเดียว วิทยาศาสตร์ช่วยประชาชนโดยตรงได้น้อยมาก หน้าที่ที่วิทยา­ศาสตร์จะต้องช่วยประชาชนที่แท้นั้นควรจะเป็นการช่วยเหลือทางปัญญา แต่บทบาทในการ…

เมื่อความมั่นใจในวิทยาศาสตร์สั่นคลอน แม้แต่ศาสนาแห่งการอ้อนวอนก็เฟื่องฟูได้
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 13 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

เมื่อความมั่นใจในวิทยาศาสตร์สั่นคลอน แม้แต่ศาสนาแห่งการอ้อนวอนก็เฟื่องฟูได้ ขอสรุปในข้อสำคัญอีกทีหนึ่งว่า ปัญหาของมนุษย์ในชีวิตและสังคมที่เป็นอยู่จริงนี้ ต้องการคำตอบที่สำเร็จรูปที่ใช้การได้ทันที หรือ…

มนุษย์จะประสบคุณค่าสูงสุดได้ ต้องให้วิทยาศาสตร์กับศาสนาบรรลุจุดบรรจบ
เนื้อหาหลัก / 16 มิถุนายน 2534

เป็นตอนที่ 14 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

มนุษย์จะประสบคุณค่าสูงสุดได้ ต้องให้วิทยาศาสตร์กับศาสนาบรรลุจุดบรรจบ ก่อนจะผ่านตอนนี้ไป ขอตั้งข้อคิดข้อสังเกตแทรกเข้ามาอีกสักหน่อย การเกิดขึ้นและเจริญพัฒนาของวิทยาศาสตร์เท่าที่เป็นมานี้ เรายอมรับโดยไม…

วิทยาศาสตร์กับพุทธศาสนา จุดแยกหรือจุดบรรจบ
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 15 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์กับพุทธศาสนา จุดแยกหรือจุดบรรจบ เป็นศาสนาเหมือนกัน แต่ไม่เหมือนกัน เมื่อพูดถึงพุทธศาสนา ก็ต้องพูดถึงจุดเริ่มของพุทธศาสนาก่อน เมื่อกี้บอกว่า จุดเริ่มของศาสนาคือความกลัวภัย ทีนี้จุดเริ่มของพุ…

ศาสนาแห่งธรรมชาติ และการรู้ธรรมชาติด้วยปัญญา
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 16 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ศาสนาแห่งธรรมชาติ และการรู้ธรรมชาติด้วยปัญญา ทีนี้เพื่อจะให้เกิดความเข้าใจชัดเจนในเรื่องนี้ อาตมาจะขอเอาเวลาช่วงนี้มาใช้กับการพูดถึงหลักการพื้นฐานบางอย่างที่พึงสังเกตของพุทธ­ศาสนา ตอนแรกนี้ พูดถึงตัวห…

ศาสนาแห่งการเพียรแก้ปัญหา ด้วยการพัฒนาปัญญาของมนุษย์
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 17 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ศาสนาแห่งการเพียรแก้ปัญหา ด้วยการพัฒนาปัญญาของมนุษย์ ข้อที่ ๔ หลักการประกาศอิสรภาพของมนุษย์ พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นในท่ามกลางความเชื่อตามหลักศาสนาพราหมณ์ ที่ถือว่า พระพรหมเป็นผู้สร้างโลก เทพเจ้าเป็นผู้บั…

แยกแล้วทิ้ง กับแยกไปเอาความจริง
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 18 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

แยกแล้วทิ้ง กับแยกไปเอาความจริง ได้กล่าวแล้วว่าศาสนาทั้งหลายทั่วไปตั้งแต่โบราณ มองความเป็นไปของสิ่งทั้งหลายว่ามีเทพเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์อยู่เบื้องหลังคอยดลบันดาล ถ้ามนุษย์หวาดกลัวอันตรายไม่ต้องการใ…

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ความต่างในความเหมือน
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 19 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ความต่างในความเหมือน ศรัทธา: จุดร่วมของพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ที่เป็นจุดแยกจากศาสนาอื่นๆ ทีนี้ก็มาลองวิเคราะห์ดูในบางเรื่องบางอย่างตามหลักการพื้นฐาน เพื่อเป็นข้อสังเกตเชิงเปรี…

ศรัทธา: จุดร่วมที่แตกต่าง ระหว่างพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 20 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ศรัทธา: จุดร่วมที่แตกต่าง ระหว่างพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ได้กล่าวแล้วข้างต้นว่า จุดเริ่มร่วมของศาสนาและวิทยาศาสตร์ก็คือ การที่มนุษย์ประสบปัญหาในการดำรงชีวิตอยู่ในโลก เนื่องจากภัยอันตรายและความติดขัดบี…