จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา
เนื้อหาหลัก / 24 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 1 จาก 21 ตอนของ จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา เจริญพร ท่านผู้สนใจเจริญภาวนาทุกท่าน วันนี้ อาตมาจะพูดในหัวข้อเรื่อง “จิตวิทยากับการเจริญภาวนา” หัวข้อนี้จะว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างจิตวิทยากับข้อปฏิบัติที่เกี่ยวกับจิตใจในพระ…

– ๑ – จุดบรรจบที่แฝงความแตกต่าง
เนื้อหาหลัก / 24 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 2 จาก 21 ตอนของ จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

– ๑ – จุดบรรจบที่แฝงความแตกต่าง ความสนใจพระพุทธศาสนาในประเทศตะวันตก ว่าที่จริงนั้น เวลานี้ในโลกตะวันตกมีความสนใจพระพุทธศาสนากันมาก พูดได้ว่ามีความสนใจเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ ๒-๓ วันนี้ อาตมาฟังวิ…

แนวโน้มใหม่ของความสนใจพระพุทธศาสนาในตะวันตก
เนื้อหาหลัก / 24 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 3 จาก 21 ตอนของ จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

แนวโน้มใหม่ของความสนใจพระพุทธศาสนาในตะวันตก ครั้นถึงยุคปัจจุบัน ในระยะ ๒๐-๓๐ ปีนี้ แนวความสนใจได้เปลี่ยนไป คือ เนื่องจากสภาพความเปลี่ยนแปลงในทางสังคม กล่าวคือหลังจากที่การพัฒนาอุตสาหกรรมนั้นได้เจริญมา…

ความแตกต่างระหว่างจิตวิทยาตะวันตก กับพระพุทธศาสนา
เนื้อหาหลัก / 24 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 4 จาก 21 ตอนของ จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

ความแตกต่างระหว่างจิตวิทยาตะวันตก กับพระพุทธศาสนา เมื่อพูดในแง่นี้ก็เลยโยงไปหาเรื่องความเหมือนและความแตกต่างระหว่างจิตวิทยาในพระพุทธศาสนากับจิตวิทยาแบบตะวันตก ซึ่งแม้จะพูดในเชิงความสัมพันธ์ ก็ควรจะมอง…

จุดต่างที่สำคัญระหว่างจิตวิทยากับพระพุทธศาสนา
เนื้อหาหลัก / 24 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 5 จาก 21 ตอนของ จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

จุดต่างที่สำคัญระหว่างจิตวิทยากับพระพุทธศาสนา ที่นี้มองในฝ่ายพุทธ พระพุทธศาสนานั้นมองปัญหาจิตใจของคน โดยมิได้จำกัดอยู่ในวงของการป่วยทางจิต คือไม่ได้เน้นเรื่องคนไข้โรคจิต แต่ปัญหาจิตใจของคนในพระพุทธศาส…

วิธีการที่ต่างกันเกิดจากการมองที่ต่างกัน
เนื้อหาหลัก / 24 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 6 จาก 21 ตอนของ จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

วิธีการที่ต่างกันเกิดจากการมองที่ต่างกัน ประสบการณ์ภายในจิตใจนี้ทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นสิ่งที่สำคัญ และประสบการณ์ทางจิตใจนี้ก็โยงออกมาสู่พฤติกรรมทางรูปธรรมภายนอกด้วย โดยที่ทั้งหมดนั้นเป็นส่วนหนึ่งใน…

ความสัมพันธ์เชิงระบบภายในองค์รวม โยงจิตกับปัญญา ตลอดลงมาถึงพฤติกรรม
เนื้อหาหลัก / 24 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 7 จาก 21 ตอนของ จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

ความสัมพันธ์เชิงระบบภายในองค์รวม โยงจิตกับปัญญา ตลอดลงมาถึงพฤติกรรม นอกจากนี้ยังมีอีกอย่างหนึ่ง คือ จากการที่ทางตะวันตกมองแยกเรื่องของระบบจิตใจและปัญหาชีวิตของมนุษย์นี้ต่างหากจากกันเป็นส่วนๆ เป็นเรื่อ…

– ๒ – ความแตกต่างที่ต้องนำมาบรรจบ
เนื้อหาหลัก / 24 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 8 จาก 21 ตอนของ จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

– ๒ – ความแตกต่างที่ต้องนำมาบรรจบ สังคมยิ่งพัฒนา แต่จิตใจมนุษย์ยิ่งมีปัญหา ได้พูดมาในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างจิตวิทยาสมัยใหม่กับพระพุทธศาสนา โดยเน้นในเรื่องความแตกต่างบางอย่างให้เข้าใจภาพรวม…

จุดที่จิตวิทยาสนใจและขยายความหมาย มาบรรจบกับพระพุทธศาสนา
เนื้อหาหลัก / 24 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 9 จาก 21 ตอนของ จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

จุดที่จิตวิทยาสนใจและขยายความหมาย มาบรรจบกับพระพุทธศาสนา ความเป็นไปในสังคมตะวันตกที่ทำให้เกิดปัญหาชีวิตจิตใจของมนุษย์อย่างที่ว่ามานี้นั่นแหละ เป็นจุดหนึ่งที่มากระตุ้นเร้าให้วงการจิตวิทยาขยายความสนใจจา…

โทษอาจเกิดขึ้น และแก้ปัญหาไม่ได้ ถ้าเอาพระพุทธศาสนาไปใช้แบบครึ่งๆ กลางๆ
เนื้อหาหลัก / 24 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 10 จาก 21 ตอนของ จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

โทษอาจเกิดขึ้น และแก้ปัญหาไม่ได้ ถ้าเอาพระพุทธศาสนาไปใช้แบบครึ่งๆ กลางๆ อย่างไรก็ตาม ตามหลักพระพุทธศาสนา การแก้ปัญหาของมนุษย์จะต้องโยงไปหากระบวนการพัฒนามนุษย์ มนุษย์จะแก้ปัญหาไม่ตก ถ้าไม่พัฒนาตนเอง ฉะ…