ฐานะของเศรษฐกิจในแหล่งคำสอนของพุทธศาสตร์
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 11 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

ฐานะของเศรษฐกิจในแหล่งคำสอนของพุทธศาสตร์ ก่อนที่จะวิเคราะห์เรื่องเหล่านี้ตามแนวของพุทธศาสตร์ต่อไป ก็จะหวนกลับมาหาคำสอนทั่วๆ ไปของพุทธศาสตร์เสียก่อน ในเรื่องพุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจนี้ ตามปกต…

พุทธจริยธรรมเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 12 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

พุทธจริยธรรมเกี่ยวกับเศรษฐกิจ ที่พูดมานี้ก็เพื่อให้เห็นว่า คำสอนในทางพระพุทธศาสนานั้น เป็นเรื่องเกี่ยวกับเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก เพราะเศรษฐกิจนั้นมีความสำคัญ ตอนนี้อาตมาอยากจะขอให้เสียเวลานิดหน่อยในเรื่อ…

แนวคิดแบบพุทธเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 13 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

แนวคิดแบบพุทธเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กล่าวโดยสรุป คำสอนในพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจนี้ มีจุดสนใจเบื้องแรกอยู่ที่ว่า จะทำอย่างไรให้คนทุกคนหรือคนทั่วไปมีปัจจัยสี่พอเพียงที่จะเป็นอยู่ได้ สภาพเช…

ความสำคัญและความสัมพันธ์ของเศรษฐกิจ ในระบบของพุทธธรรม
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 14 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

ความสำคัญและความสัมพันธ์ของเศรษฐกิจ ในระบบของพุทธธรรม มีข้อพิจารณาสืบเนื่องต่อไปว่า พฤติกรรมหรือกิจกรรมและผลได้ทางเศรษฐกิจมีความหมายสำคัญในแง่ของพุทธธรรมอย่างไรบ้าง ตอบโดยสรุปคือ ๑. เป็นปัจจัย หรือเป็…

ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 15 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ ข้อที่จะพึงพูดในเบื้องต้นก็คือ เศรษฐกิจนี้เป็นกิจกรรมของมนุษย์ เป็นเรื่องของมนุษย์แท้ๆ เลยทีเดียว และวิชาเศรษฐศาสตร์นั้นก็เป็นความพยายามด้านหนึ่ง ที่จะแก้ปัญหาของม…

ธรรมชาติของมนุษย์ตามทรรศนะของพุทธศาสตร์
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 16 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

ธรรมชาติของมนุษย์ตามทรรศนะของพุทธศาสตร์ ว่าโดยรวบรัด พุทธศาสตร์มองว่า มนุษย์เกิดมามีอวิชชา อวิชชา คือ ความไม่รู้และยังไม่รู้ ทำให้มนุษย์มีความจำกัดขัดข้องในการที่จะดำเนินชีวิตให้อยู่รอดด้วยดี ซึ่งเราจ…

ธรรมชาติของมนุษย์เอื้อต่อการพัฒนาสู่ความสมบูรณ์
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 17 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

ธรรมชาติของมนุษย์เอื้อต่อการพัฒนาสู่ความสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม ธรรมชาติของมนุษย์ไม่จบเพียงเท่านี้ พุทธศาสตร์บอกต่อไปว่า มนุษย์มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองได้ ในเมื่อปัญหาเกิดจากความไม่รู้ แล้วเป็นอยู่ด้วยอว…

ความต้องการ ในทรรศนะของเศรษฐศาสตร์และพุทธศาสตร์
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 18 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

ความต้องการ ในทรรศนะของเศรษฐศาสตร์และพุทธศาสตร์ เมื่อได้พูดถึงธรรมชาติของมนุษย์ ในความเข้าใจทางพระพุทธศาสนาทั่วไป และได้โยงเข้ามาสู่แง่ที่สัมพันธ์กับเศรษฐกิจแล้ว ก็มีหัวข้อที่ควรยกออกมาพูดแยกเป็นประเด…

จากคุณค่าแท้/คุณค่าเทียม สู่พฤติกรรมในการบริโภค
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 19 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

จากคุณค่าแท้/คุณค่าเทียม สู่พฤติกรรมในการบริโภค จากหลักความต้องการสองแบบ ก็นำไปสู่หลักที่เรียกว่า คุณค่าแท้และคุณค่าเทียม เพราะฉะนั้นในตอนนี้ เราจึงหันมาพิจารณาเรื่องคุณค่าของสิ่งทั้งหลาย การที่มนุษย์…

ลักษณะสำคัญของเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 20 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

ลักษณะสำคัญของเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ เพื่อรวบรัดตัดตอน จะขอข้ามไปพูดเรื่องลักษณะสำคัญของเศรษฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธศาสตร์มีลักษณะที่สำคัญคือ ๑. เป็นเศรษฐศาสตร์สายกลาง หรือเศรษฐศาสตร์มัช…