(กล่าวนำ)
เนื้อหาหลัก / 15 สิงหาคม 2532

เป็นตอนที่ 1 จาก 10 ตอนของ ศิลปศาสตร์แนวพุทธ

ศิลปศาสตร์แนวพุทธ ขอเจริญพร ท่านคณบดี ท่านอาจารย์ ท่านผู้ทรงคุณวุฒิ และท่านผู้สนใจใฝ่รู้ใฝ่ธรรมทุกท่าน วันนี้ อาตมภาพขอแสดงมุทิตาจิต คือ แสดงความยินดีต่อคณะศิลปศาสตร์ ในโอกาสที่มีอายุครบ ๒๗ ปี ซึ่งนับ…

๑ ความหมาย ขอบเขต และความเป็นมาของศิลปศาสตร์
เนื้อหาหลัก / 15 สิงหาคม 2532

เป็นตอนที่ 2 จาก 10 ตอนของ ศิลปศาสตร์แนวพุทธ

๑ ความหมาย ขอบเขต และความเป็นมาของศิลปศาสตร์ ชื่อที่ตั้งไว้ว่า “ศิลปศาสตร์แนวพุทธ” นี้ เป็นคำที่แปลก คงจะมีการถามกันว่า “มีด้วยหรือศิลปศาสตร์แนวพุทธ?” “ในพุทธศาสนามีศิลปศาสตร์หรืออย่างไร?” หรืออย่างน้…

๒ การศึกษาศิลปศาสตร์
เนื้อหาหลัก / 15 สิงหาคม 2532

เป็นตอนที่ 3 จาก 10 ตอนของ ศิลปศาสตร์แนวพุทธ

๒ การศึกษาศิลปศาสตร์ ศิลปศาสตร์ในฐานะเป็นวิชาพื้นฐาน ตอนแรกได้เริ่มบรรยายเกี่ยวกับถ้อยคำเพื่อให้เห็นความเป็นมาของคำว่าศิลปศาสตร์ แล้วต่อมาก็ได้ยุติที่คำว่าศิลปศาสตร์อย่างที่ใช้ในความหมายปัจจุบัน คือ ท…

แง่ที่ ๑ ศิลปศาสตร์ มองโดยความสัมพันธ์ กับวิชาชีพและวิชาเฉพาะต่างๆ
เนื้อหาหลัก / 15 สิงหาคม 2532

เป็นตอนที่ 4 จาก 10 ตอนของ ศิลปศาสตร์แนวพุทธ

แง่ที่ ๑ ศิลปศาสตร์ มองโดยความสัมพันธ์ กับวิชาชีพและวิชาเฉพาะต่างๆ ศิลปศาสตร์มีจุดหมายปลายทางเพื่อสร้างบัณฑิต ก่อนอื่นขอให้ระลึกไว้ในใจว่า วิชาศิลปศาสตร์มีอะไรบ้าง ลองทบทวนกัน วิชาศิลปศาสตร์ ได้แก่วิช…

แง่ที่ ๒ ศิลปศาสตร์ มองโดยความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กับสิ่งที่มนุษย์เกี่ยวข้อง เพื่อให้ดำรงชีวิตอยู่ด้วยดี
เนื้อหาหลัก / 15 สิงหาคม 2532

เป็นตอนที่ 5 จาก 10 ตอนของ ศิลปศาสตร์แนวพุทธ

แง่ที่ ๒ ศิลปศาสตร์ มองโดยความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กับสิ่งที่มนุษย์เกี่ยวข้อง เพื่อให้ดำรงชีวิตอยู่ด้วยดี องค์ประกอบ ๓ แห่งการดำรงอยู่ของมนุษย์ การที่มนุษยชาติ จะดำรงอยู่ด้วยดีในโลกนี้ได้นั้น จะต้องม…

แง่ที่ ๓ ศิลปศาสตร์ มองโดยสัมพันธ์กับกาลเวลา ยุคสมัย และความเปลี่ยนแปลง
เนื้อหาหลัก / 15 สิงหาคม 2532

เป็นตอนที่ 6 จาก 10 ตอนของ ศิลปศาสตร์แนวพุทธ

แง่ที่ ๓ ศิลปศาสตร์ มองโดยสัมพันธ์กับกาลเวลา ยุคสมัย และความเปลี่ยนแปลง ความเปลี่ยนแปลงเอื้อประโยชน์แก่มนุษย์อย่างไร? กาลเวลาเกิดจากอะไร กาลเวลาเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลง ก็ไม่มีกาลเ…

แง่ที่ ๔ ศิลปศาสตร์ มองในแง่เทศะ
เนื้อหาหลัก / 15 สิงหาคม 2532

เป็นตอนที่ 7 จาก 10 ตอนของ ศิลปศาสตร์แนวพุทธ

แง่ที่ ๔ ศิลปศาสตร์ มองในแง่เทศะ รู้เขา รู้เรา คืออย่างไร? การมองในแง่เทศะ คือ พิจารณาเรื่องราวนั้นๆ โดยสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ที่ตั้ง หรือแหล่งแห่งที่ เช่น มองว่าภายในหรือภายนอก มองในแง่สังคมไทยกับสั…

แง่ที่ ๕ ศิลปศาสตร์ มองในแง่การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์
เนื้อหาหลัก / 15 สิงหาคม 2532

เป็นตอนที่ 8 จาก 10 ตอนของ ศิลปศาสตร์แนวพุทธ

แง่ที่ ๕ ศิลปศาสตร์ มองในแง่การพัฒนา ศักยภาพของมนุษย์ ศิลปศาสตร์เป็นเนื้อเป็นตัวของการศึกษา การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์นี้ เป็นความหมายตามปกติธรรมดาอยู่แล้วของการศึกษาศิลปศาสตร์ เพราะว่าวิชาศิลปศาสตร์นั้…

แง่ที่ ๖ ศิลปศาสตร์ มองในแง่การพัฒนาปัญญาที่เป็นแกนของการพัฒนาศักยภาพ และการเข้าถึงอิสรภาพ
เนื้อหาหลัก / 15 สิงหาคม 2532

เป็นตอนที่ 9 จาก 10 ตอนของ ศิลปศาสตร์แนวพุทธ

แง่ที่ ๖ ศิลปศาสตร์ มองในแง่การพัฒนาปัญญา ที่เป็นแกนของการพัฒนาศักยภาพ และการเข้าถึงอิสรภาพ ปัญญาในฐานะแกนกลางของการพัฒนาศักยภาพ ในศักยภาพของมนุษย์นั้น สิ่งที่เป็นแกนกลางที่เราต้องการแท้จริงคืออะไร แก…

๓ สาระและจุดหมายของศิลปศาสตร์
เนื้อหาหลัก / 15 สิงหาคม 2532

เป็นตอนที่ 10 จาก 10 ตอนของ ศิลปศาสตร์แนวพุทธ

๓ สาระและจุดหมายของศิลปศาสตร์ รากฐานร่วมของศิลปศาสตร์ เป็นอันว่า ในที่นี้ ขอพูดไว้ ๖ แง่ด้วยกัน ในเรื่องที่ว่าเรามองการศึกษาศิลปศาสตร์อย่างไร ซึ่งเป็นเรื่องที่คิดว่าสำคัญๆ ทั้งนั้น ทั้งนี้ก็เพื่อเน้นใ…