ศรัทธาและปัญญาไม่ใช่คู่แข่งขัน
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 32 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ศรัทธาและปัญญาไม่ใช่คู่แข่งขัน พระพรหมคุณาภรณ์ นี่คือวิธีการที่เขาแปลคำศัพท์ให้พอเข้าใจ แต่คำในภาษาบาลี คือ มิตตะ มิตตะ คือ เพื่อน แต่เพื่อนในที่นี้ อาจเป็นพ่อ เป็นแม่ เป็นครู เป็นอาจารย์ เป็นผู้แนะนำ…

– ๑ – จิตใจของนักวิชาการ
เนื้อหาหลัก / 23 กันยายน 2539

เป็นตอนที่ 2 จาก 4 ตอนของ เพื่อชุมชนแห่งการศึกษา และบรรยากาศแห่งวิชาการ (คุณธรรมของครูอาจารย์และผู้บริหาร)

– ๑ – จิตใจของนักวิชาการ วิชาการต้องมีชีวิตชีวา จึงจะมีการแสวงปัญญาอย่างแท้จริง ได้บอกเมื่อกี้ว่า ปัญญาเป็นคุณสมบัติเยี่ยมยอดของมนุษย์ เพราะมนุษย์นั้นเป็นอยู่ด้วยอาศัยสัญชาตญาณได้น้อย ไม่เ…

ทำท่าจะเหมือน แต่ก็ไม่เหมือน
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 22 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ทำท่าจะเหมือน แต่ก็ไม่เหมือน ขอย้อนกลับไปพูดถึงศรัทธาระดับที่สอง ที่แยกเป็น ๒ ด้าน อย่างที่แสดงไว้ข้างต้น ในเรื่องนี้ มีข้อสังเกตว่า แท้จริงนั้น ศรัทธาของวิทยาศาสตร์ก็มีเค้าว่าจะแยกเป็น ๒ อย่างตรงกับข…

ศรัทธาที่ครบชุด ต้องทั้งมนุษย์ ธรรมชาติ และสังคม
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 21 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ศรัทธาที่ครบชุด ต้องทั้งมนุษย์ ธรรมชาติ และสังคม ๒) ระดับที่สอง หรือระดับรอง: ศรัทธา ๒ อย่าง ที่โยงต่อกัน ศรัทธาระดับที่สอง ก็มีจุดที่เป็นเป้า ๒ จุด กล่าวคือ ธรรมชาติกับตัวมนุษย์ และโยงจุดเป้าทั้งสองม…

ศรัทธา: จุดร่วมที่แตกต่าง ระหว่างพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 20 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ศรัทธา: จุดร่วมที่แตกต่าง ระหว่างพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ได้กล่าวแล้วข้างต้นว่า จุดเริ่มร่วมของศาสนาและวิทยาศาสตร์ก็คือ การที่มนุษย์ประสบปัญหาในการดำรงชีวิตอยู่ในโลก เนื่องจากภัยอันตรายและความติดขัดบี…

ศาสนาแห่งธรรมชาติ และการรู้ธรรมชาติด้วยปัญญา
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 16 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ศาสนาแห่งธรรมชาติ และการรู้ธรรมชาติด้วยปัญญา ทีนี้เพื่อจะให้เกิดความเข้าใจชัดเจนในเรื่องนี้ อาตมาจะขอเอาเวลาช่วงนี้มาใช้กับการพูดถึงหลักการพื้นฐานบางอย่างที่พึงสังเกตของพุทธ­ศาสนา ตอนแรกนี้ พูดถึงตัวห…

วิทยาศาสตร์กับพุทธศาสนา จุดแยกหรือจุดบรรจบ
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 15 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์กับพุทธศาสนา จุดแยกหรือจุดบรรจบ เป็นศาสนาเหมือนกัน แต่ไม่เหมือนกัน เมื่อพูดถึงพุทธศาสนา ก็ต้องพูดถึงจุดเริ่มของพุทธศาสนาก่อน เมื่อกี้บอกว่า จุดเริ่มของศาสนาคือความกลัวภัย ทีนี้จุดเริ่มของพุ…

ศาสนากับวิทยาศาสตร์ เริ่มร่วมแล้วร้างเริด
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 9 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ศาสนากับวิทยาศาสตร์ เริ่มร่วมแล้วร้างเริด จุดเริ่มร่วมที่กลายเป็นจุดแยกห่าง ระหว่างศาสนากับวิทยาศาสตร์ ศาสนามีต้นกำเนิดจากอะไร เรียนกันมาแต่ไหนแต่ไรว่า ศาสนามีต้นกำเนิดจากความกลัวภัย ก็กลัวภัยธรรมชาติ…

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ความต่างในความเหมือน
เนื้อหาหลัก / 16 สิงหาคม 2534

เป็นตอนที่ 19 จาก 37 ตอนของ พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ความต่างในความเหมือน ศรัทธา: จุดร่วมของพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ที่เป็นจุดแยกจากศาสนาอื่นๆ ทีนี้ก็มาลองวิเคราะห์ดูในบางเรื่องบางอย่างตามหลักการพื้นฐาน เพื่อเป็นข้อสังเกตเชิงเปรี…

การรักษาฐานะของสถาบันพุทธศาสนา
เนื้อหาหลัก / 5 ธันวาคม 2530

เป็นตอนที่ 1 จาก 2 ตอนของ สถาบันสงฆ์ในสังคมไทย

การรักษาฐานะของสถาบันพุทธศาสนา ศาสนาอย่างที่เข้าใจกันโดยสามัญ เป็นผลอย่างหนึ่งแห่งความพยายามของมนุษย์ ที่จะแก้ไขปัญหาชีวิตบางอย่างของตน ซึ่งมีทั้งปัญหาเฉพาะบุคคล และปัญหาเกี่ยวกับความเกี่ยวข้องระหว่าง…