“ภิกษุทั้งหลาย เรารู้ชัดถึงคุณของธรรม ๒ ประการ คือ ความเป็นผู้ไม่สันโดษในกุศลธรรมทั้งหลายหนึ่ง ความเป็นผู้ทำความเพียรไม่ระย่อท้อถอยหนึ่ง ดังที่เป็นมา เราตั้งความเพียรไว้ไม่ย่อหย่อนว่า จะเหลือแต่หนัง เ…
ความไม่สันโดษ ที่เป็นพระจริยาวัตรของพุทธเจ้า คุณธรรมคือความไม่สันโดษนี้ ควรจะได้รับการเน้นและยกย่องในหมู่พุทธศาสนิกชนได้มาก แต่ต้องเป็นความไม่สันโดษที่ถูกต้องตามหลักพุทธศาสนา เพราะเป็นพระจริยาวัตรของพ…
อิทธิบาท ๔: ทางแห่งความสำเร็จ นอกจากการที่จะมีความไม่สันโดษ และสันโดษที่ถูกต้องแล้ว เพราะฉันทะทำให้ใจมาอยู่กับงาน สิ่งที่ทำ สิ่งที่เป็นเป้าหมาย ทำให้เกิดจิตใจฝักใฝ่อย่างที่ว่ามาเมื่อกี้ เมื่อใจฝักใฝ่ก…
การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานนี้ ความจริงก็เป็นเรื่องที่มีชื่อแบบสมัยใหม่ ถ้าจะจับเข้ากับหลักธรรมะ ก็ยังนึกไม่ชัดว่าคำว่า “ประสิทธิภาพ” นี่จะแปลว่าอะไรดี คำว่า ประส…
ความอยากที่ดี มีคุณธรรมข้อหนึ่งที่ถือว่าเป็นพื้นฐาน ที่จริงเป็นพื้นฐานของการที่จะก้าวหน้าในคุณธรรมทั้งหมดทีเดียว คุณธรรมข้อนี้ท่านเรียกว่า “ฉันทะ” ฉันทะตัวนี้เราฟังแล้วคุ้นหู เพราะท่านที่เป็นนักศึกษาธ…
สันโดษไม่ดี ไม่สันโดษจึงดี งานของพระพุทธเจ้าอย่างแรกที่สุด ก็คือการตรัสรู้ อะไรทำให้พระองค์ได้ตรัสรู้ พระองค์ได้ทำงาน คือ มีความเพียรพยายามอย่างมีประสิทธิภาพจนประสบความสำเร็จให้ตรัสรู้ บรรลุสัมมาสัมโพ…
ฉันทะทำให้ขยัน ตัณหาทำให้ขี้เกียจ ทีนี้ จะขอพูดเรื่องฉันทะอย่างเดียว ฉันทะนี้เป็นเรื่องที่เราจะต้องศึกษาอีก ที่พูดมาเมื่อกี้นี้ว่า ฉันทะ แปลว่า ความชอบ ความพอใจ ความรัก หรือความมีใจรัก แต่ความจริงฉันท…
สันโดษที่ถูกต้องมีธรรมฉันทะ ขอสรุปว่า ฉันทะที่ถูกต้องนี่ก็คือ ธรรมฉันทะที่จะไปสัมพันธ์กับความสันโดษ ทำให้เกิดความสันโดษที่ถูกต้อง แล้วก็ทำให้เกิดความไม่สันโดษที่ถูกต้องด้วย แล้วก็จะทำให้เกิดวิริยะ—ควา…
การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน แยกพิมพ์เป็นเรื่องเดี่ยวแล้ว อ่านได้ที่ การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
ความหมายของคำบัญญัติในทางการศึกษา ที่ว่ามานั้นไม่ใช่เป็นการตัดสินว่าผิด แต่เสนอให้คิดว่า อาจจะผิดก็ได้ ที่นี้ถ้ายอมรับว่าผิด ก็ลองมาคิดกันใหม่ ๑. เริ่มต้นเราลองมาทบทวนความหมายของคำว่าชีวิตก่อน ชีวิตที…