— ตัวอย่างจุดเริ่มต้นของความคิด ในด้านความสัมพันธ์กับวัตถุธรรม
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 8 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ตัวอย่างจุดเริ่มต้นของความคิด ในด้านความสัมพันธ์กับวัตถุธรรม เราแบ่งแยกการเริ่มต้นความคิด หรือการเริ่มก่อรูปความคิดได้เป็น ๒ ประเภทด้วยกัน ก่อนที่จะชี้แจงว่าสองประเภทนี้มีอะไรบ้าง จะขอยกตัวอย่างเสียก่…

— คุณค่าแท้ คุณค่าเทียม
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 30 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

คุณค่าแท้ คุณค่าเทียม ๒. ทีนี้เรื่องที่ว่านั้น จะมีผลดีขึ้นมาได้อย่างไร ทำอย่างไรจะให้คนมีความซื่อตรงต่อธรรมชาติ ทำอย่างไรจะให้คนเห็นความดีเป็นผลดีต่อชีวิตแทนที่จะเห็นแต่เพียงวัตถุ หรือความพรั่งพร้อมใ…

— ปัญญาพ่วงด้วยกรุณาในจิตที่มีอิสรภาพ
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 15 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ปัญญาพ่วงด้วยกรุณาในจิตที่มีอิสรภาพ ความจริง ภาวะที่กล่าวมานั้น มองได้หลายแง่ คือมีลักษณะหลายอย่างรวมกันอยู่ แง่หนึ่งเป็นภาวะที่จิตมีอิสรภาพ ปลอดโปร่ง แง่หนึ่งเป็นอาการที่คิดและเข้าใจคือปัญญา และอีกแง…

— ปัญหาเกี่ยวกับความหมายและความมุ่งหมายของการศึกษา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 26 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ปัญหาเกี่ยวกับความหมายและความมุ่งหมายของการศึกษา ในเมื่อเราจะมาพิจารณาหาทางแก้ไขปัญหาในการพัฒนาการศึกษาว่าจะทำกันอย่างไร และโดยเฉพาะในกรณีนี้เราต้องพิจารณาว่าจะนำเอาพุทธศาสนามาใช้ในการพัฒนาการศึกษาได้…

— การศึกษากับประชาธิปไตย
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 34 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

การศึกษากับประชาธิปไตย ในการอยู่ร่วมที่ดีนั้น เราต้องการสิ่งหนึ่งคือการปกครอง เราจึงบอกว่า การศึกษาที่ดีย่อมอำนวยประโยชน์แก่การปกครองด้วย ทีนี้ในแง่ของพระพุทธศาสนา การศึกษาจะอำนวยประโยชน์เป็นไปเพื่อกา…

— ความรู้ประเภทที่ ๑ : สุตศิลปหรือความรู้ที่เป็นอุปกรณ์
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 5 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ความรู้ประเภทที่ ๑ : สุตศิลปหรือความรู้ที่เป็นอุปกรณ์ หน้าที่ประการที่หนึ่ง คือการเป็นสิปปทายกนั้น ไม่ใช่เรื่องของการศึกษาหรือในความเข้าใจทั่วๆ ไป จะเห็นว่า เมื่อพูดถึงการศึกษา เราจะเน้นในข้อแรก คือกา…

— กัลยาณมิตร จุดชนวนความคิด คือให้การศึกษา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 16 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

กัลยาณมิตร จุดชนวนความคิด คือให้การศึกษา เท่าที่กล่าวมาเป็นอันสรุปได้ว่า การมองความหมายหรือตีค่าของมนุษย์นี้มี ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ มองในแง่ของอวิชชาและตัณหา กับมองในแง่ของปัญญา การมองนี้ก็ไปสัมพันธ์กับว…

— การสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม โดยวิถีทางของปัญญา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 14 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

การสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม โดยวิถีทางของปัญญา ทีนี้ หันไปมองสิ่งแวดล้อมประเภทที่ ๒ คือ สิ่งแวดล้อมในทางสังคมว่าเราจะเข้าไปเกี่ยวข้องโดยวิถีทางของปัญญาได้อย่างไร ในการเข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล…

— หน้าที่ ๒ อย่างของครู
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 4 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

หน้าที่ ๒ อย่างของครู เมื่อทำความเข้าใจกันอย่างนี้แล้ว ก็หันมาหาสิ่งที่อาตมาคิดว่าจะพูดต่อไป อาตมาได้กล่าวไว้แล้วว่า จะลองพิจารณาปรัชญาการศึกษาของพระพุทธศาสนาจากทางภาคปฏิบัติ แล้วเรามาดูจากภาคปฏิบัติน…

— ความซื่อตรงต่อกฎธรรมชาติ
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 29 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ความซื่อตรงต่อกฎธรรมชาติ ๑. เรื่องที่กล่าวข้างต้นที่ถือว่าเป็นเรื่องเสียหาย ก็คือ การที่มนุษย์พยายามแสวงหาในทางที่เป็นความเห็นแก่ตัว มุ่งประโยชน์แก่ตัวตน และสร้างความหมายไปในทางที่จะส่งเสริมพอกพูนอัตต…