ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย
ธรรมนิพนธ์ , หนังสือ / 10 มิถุนายน 2531

“…หลักของเศรษฐศาสตร์ คือการสนองความต้องการ แต่ในพุทธศาสตร์จะมีการพิจารณาว่า ความต้องการนั้นให้เกิดคุณภาพชีวิต หรือทำลายคุณภาพชีวิต แล้วจึงจะสนองหรือระงับ ไม่เหมือนกัน” “……

แนวคิดแบบพุทธเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 13 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

แนวคิดแบบพุทธเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กล่าวโดยสรุป คำสอนในพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจนี้ มีจุดสนใจเบื้องแรกอยู่ที่ว่า จะทำอย่างไรให้คนทุกคนหรือคนทั่วไปมีปัจจัยสี่พอเพียงที่จะเป็นอยู่ได้ สภาพเช…

ฐานะของเศรษฐกิจในแหล่งคำสอนของพุทธศาสตร์
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 11 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

ฐานะของเศรษฐกิจในแหล่งคำสอนของพุทธศาสตร์ ก่อนที่จะวิเคราะห์เรื่องเหล่านี้ตามแนวของพุทธศาสตร์ต่อไป ก็จะหวนกลับมาหาคำสอนทั่วๆ ไปของพุทธศาสตร์เสียก่อน ในเรื่องพุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจนี้ ตามปกต…

มองไม่ทั่วตลอด ด้านหน้า ด้านใน และด้านข้าง
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 9 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

มองไม่ทั่วตลอด ด้านหน้า ด้านใน และด้านข้าง ข้อต่อไป ที่ว่าเศรษฐศาสตร์จะไม่สามารถเป็นวิทยาศาสตร์ได้อย่างแท้จริง ก็เพราะไม่เป็นไปตามหลักการของธรรมในแง่ที่สอง คือ กระบวนการของเหตุปัจจัยหรือกฎเกณฑ์ของธรรม…

จริยธรรม: ตัวแปรทางเศรษฐกิจที่ถูกมองข้าม
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 6 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

จริยธรรม: ตัวแปรทางเศรษฐกิจที่ถูกมองข้าม การที่เศรษฐศาสตร์ไม่ค่อยสนใจกับจริยธรรมนี้ ก็เป็นเรื่องที่น่าพิจารณาว่าเป็นเพราะอะไร อย่างที่บอกเมื่อกี้ว่า เศรษฐศาสตร์นี้เกิดขึ้นในประเทศตะวันตก และจริยธรรมสำ…

ความสำคัญของจริยธรรมต่อเศรษฐกิจ
เนื้อหาหลัก / 10 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 5 จาก 20 ตอนของ ทางออกจากระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย

ความสำคัญของจริยธรรมต่อเศรษฐกิจ ขอวกมายังเรื่องเกี่ยวกับความเข้าใจของคนทั่วไป ที่ว่าเมื่อพูดถึงธรรม ก็มักจะนึกถึงจริยธรรม จึงจะพูดถึงเศรษฐศาสตร์กับจริยธรรมเสียก่อน จริยธรรมมีความสัมพันธ์และความสำคัญต่…

๑. สภาพปัจจุบัน ปัญหาการศึกษาของคณะสงฆ์
เนื้อหาหลัก / 3 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 3 จาก 15 ตอนของ ทิศทางการศึกษาของคณะสงฆ์

๑. สภาพปัจจุบัน ปัญหาการศึกษาของคณะสงฆ์   ว่าถึงทิศทางการศึกษาของคณะสงฆ์ทั้งหมดนั้น ผมได้เห็นสภาพดินฟ้าอากาศวันนี้ ตอนเช้าเมฆครึ้มมัวมาก มีเค้าฝน ก็เลยนึกถึงสภาพการศึกษาของคณะสงฆ์ของเราว่า คล้ายๆ…

อนุโมทนา
เนื้อหาประกอบ / 3 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 15 จาก 15 ตอนของ ทิศทางการศึกษาของคณะสงฆ์

อนุโมทนา “ทิศทางการศึกษาของคณะสงฆ์” นี้ เป็นปาฐกถาพิเศษในการปฐมนิเทศนิสิตปริญญาโทรุ่นแรกของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๓๑ การเปิดการศึกษาชั้นปริญญาโทนั้น นับว่าเป็นก้า…

สร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ
เนื้อหาหลัก / 3 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 12 จาก 15 ตอนของ ทิศทางการศึกษาของคณะสงฆ์

สร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ ประการต่อไป สิ่งที่จะต้องทำให้ได้ในระดับสอง เพื่อก้าวสู่ความเป็นผู้นำในการศึกษาทางพระศาสนา หรือบาลีและธรรมวินัย ก็คือสิ่งที่เรียกว่าความเป็นเลิศทางวิชาการ ในวงการศึกษา โดยเ…

เป็นผู้นำ หรือเพียงตามเขาทัน เพื่อติดตันอย่างเขา
เนื้อหาหลัก / 3 มิถุนายน 2531

เป็นตอนที่ 11 จาก 15 ตอนของ ทิศทางการศึกษาของคณะสงฆ์

เป็นผู้นำ หรือเพียงตามเขาทัน เพื่อติดตันอย่างเขา จุดเน้นที่พูดมาเมื่อกี้ ได้บอกถึงเป้าหมายว่า เราจะแก้ไขให้พ้นจากความด้อยขึ้นมาเป็นผู้นำในการศึกษา โดยเฉพาะบาลีและพระพุทธศาสนา อันนี้เป็นเรื่องสำคัญในทา…