เป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท รู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลง และเห็นคุณค่าของเวลา ทำให้การพัฒนาต่อเนื่องและทันการ ต่อจากนั้นก็ต้องมีอีกประการหนึ่ง คือ อัปปมาทะ จะต้อง ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท ความไม่ประมาทก็ค…
… ด้วยการพัฒนาความเป็นมนุษย์ และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างถูกต้อง คนที่พัฒนาดีแล้ว ก็จะเป็นส่วนร่วมที่รวมกำลังกันสร้างสรรค์สังคมให้เจริญงอกงาม เป็นสภาพแวดล้อมที่เอื้อโอกาสให้ทุกคนเจริญยิ่งขึ้นไปใน…
คำปรารภ การศึกษา เป็นสาระของการปฏิบัติทั้งหมดในพระพุทธศาสนา ดังที่ท่านเรียกการปฏิบัตินั้นว่า สิกขา อันได้แก่ ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา หลักการนี้สอดคล้องกับธรรมชาติของมนุษย์ ผู้เป็นสัตว์ที่ฝึกได…
การประสานกิจกรรมแห่งทาน ศีล และภาวนา ในวัฒนธรรมของชาวพุทธแต่โบราณนิยมว่า ในวันที่พักผ่อนจากการงานอาชีพหรือในวันสำคัญทางพระศาสนา โดยเฉพาะในวันอุโบสถ ที่เรียกกันว่า วันพระ ชาวพุทธจะบำเพ็ญบุญกิริยาทั้ง ๓…
๓. ภาวนา คือการพัฒนาชีวิต โดยเฉพาะในที่นี้หมายถึงการพัฒนาชีวิตด้านใน คือจิตใจและปัญญา และที่เน้นเป็นพิเศษสำหรับภาวนาในระดับบุญกิริยาวัตถุนี้ พระพุทธเจ้าทรงหมายถึง การเจริญเมตตาจิต ซึ่งเป็นฐานของทานและ…
๒. ศีล คือ การประพฤติดีงาม มีพฤติกรรมที่ไม่เบียดเบียนและฝึกหัดขัดเกลา เฉพาะอย่างยิ่ง ก) รักษาศีล ๕ สำหรับคฤหัสถ์คือชาวบ้านผู้ยังแสวงหาวัตถุหรือสิ่งเสพบริโภคต่างๆ เมื่อต่างคนต่างหา ทุกคนก็อยากได้อยากเอ…
๑. ทาน คือการให้ การเผื่อแผ่แบ่งปัน ที่ควรเน้น คือ ก) การถวายทานแก่พระภิกษุสามเณร ในฐานะที่ท่านปฏิบัติธรรมเป็นแบบอย่าง และเป็นผู้ดำรงธรรมไว้ให้แก่สังคม ในเมื่อท่านอุทิศชีวิตให้แก่ธรรม ด้วยการเล่าเรียน…
๓. กิจกรรมที่เกื้อหนุนกระบวนการของการศึกษา สำหรับชาวพุทธที่เป็นชาวบ้านทั่วไป มีหลักธรรมชุดหนึ่งที่รู้จักกันดี เป็นข้อปฏิบัติสำคัญที่ขยายไตรสิกขาลงมาสู่ชีวิตและสังคมในวงกว้าง ซึ่งชีวิตของคนส่วนใหญ่มีคว…
๓. ปัญญา หมายถึง การพัฒนาปัญญา ซึ่งมีความสำคัญสูงสุด เพราะปัญญาเป็นตัวนำทางและควบคุมพฤติกรรมทั้งหมด คนเราจะมีพฤติกรรมอะไร อย่างไร และแค่ไหน ก็อยู่ที่ว่าจะมีปัญญาชี้นำหรือบอกทางให้เท่าใด และปัญญาเป็นตั…
๒. สมาธิ หมายถึง การฝึกฝนพัฒนาในด้านจิตใจ มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะจิตใจเป็นฐานของพฤติกรรม เนื่องจากพฤติกรรมทุกอย่างเกิดขึ้นจากความตั้งใจหรือเจตนา และเป็นไปตามเจตจำนงและแรงจูงใจที่อยู่เบื้องหลัง ถ้าจ…