— ความรู้ประเภทที่ ๒ : ปัญญาหรือความรู้ที่เป็นตัวการศึกษา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 11 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ความรู้ประเภทที่ ๒ : ปัญญาหรือความรู้ที่เป็นตัวการศึกษา ทีนี้ ก็มีปัญหาต่อไปอีกว่า การมองความหมายและการตีค่าในแบบอวิชชาและตัณหาเป็นอย่างไร ลักษณะของอวิชชาคือความไม่รู้ ที่ว่าไม่รู้นั้น ไม่รู้อย่างไร ท…

— อวิชชา – ตัณหา – อัตตา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 12 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

อวิชชา – ตัณหา – อัตตา ทีนี้ ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์ พอครูเห็นศิษย์หน้าตาบึ้งบูดมีพฤติการณ์ไม่น่าพอใจ นั่นคือมองเห็นรูปลักษณ์หนึ่งแล้ว รูปลักษณ์นั้นเป็นรูปลักษณ์ที่ไม่ดี ไม่…

— การสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมฝ่ายวัตถุธรรม โดยวิถีทางของปัญญา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 13 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

การสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมฝ่ายวัตถุธรรม โดยวิถีทางของปัญญา การมองอีกแบบหนึ่ง คือการมองในวิถีทางของปัญญาเป็นอย่างไร คือการที่เราจะไม่หยุดความคิดแค่รูปลักษณ์เท่านั้น และเราจะไม่เอาความพอใจและไม่พอใจของเร…

— การสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม โดยวิถีทางของปัญญา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 14 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

การสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม โดยวิถีทางของปัญญา ทีนี้ หันไปมองสิ่งแวดล้อมประเภทที่ ๒ คือ สิ่งแวดล้อมในทางสังคมว่าเราจะเข้าไปเกี่ยวข้องโดยวิถีทางของปัญญาได้อย่างไร ในการเข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล…

— ปัญญาพ่วงด้วยกรุณาในจิตที่มีอิสรภาพ
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 15 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ปัญญาพ่วงด้วยกรุณาในจิตที่มีอิสรภาพ ความจริง ภาวะที่กล่าวมานั้น มองได้หลายแง่ คือมีลักษณะหลายอย่างรวมกันอยู่ แง่หนึ่งเป็นภาวะที่จิตมีอิสรภาพ ปลอดโปร่ง แง่หนึ่งเป็นอาการที่คิดและเข้าใจคือปัญญา และอีกแง…

— กัลยาณมิตร จุดชนวนความคิด คือให้การศึกษา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 16 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

กัลยาณมิตร จุดชนวนความคิด คือให้การศึกษา เท่าที่กล่าวมาเป็นอันสรุปได้ว่า การมองความหมายหรือตีค่าของมนุษย์นี้มี ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ มองในแง่ของอวิชชาและตัณหา กับมองในแง่ของปัญญา การมองนี้ก็ไปสัมพันธ์กับว…

— การจัดการกับตัณหา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 17 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

การจัดการกับตัณหา เรื่องที่กล่าวมาในตอนนี้ มีความสำคัญควรสังเกตอีกอย่างหนึ่ง คือ เป็นตอนที่ใช้ตอบปัญหาเรื่องแรงจูงใจหรือแรงขับในการทำการต่างๆ จะเห็นว่า ผู้ที่ศึกษาหรือคุ้นแต่กับจิตวิทยาการศึกษาของฝ่าย…

— การศึกษากับแรงจูงใจ
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 18 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

การศึกษากับแรงจูงใจ ต่อจากการมองความหมายและตีค่าแล้ว ยังมีอีกเรื่องหนึ่งที่เข้ามาสัมพันธ์และมีความสำคัญมากในทางการศึกษานี้ คือสิ่งที่เราเรียกว่าแรงจูงใจ แรงจูงใจนั้นเป็นสิ่งที่มีบทบาท เป็นตัวกำกับการแ…

— ตัวอย่างต่างๆ ของกามฉันทะกับธรรมฉันทะ
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 19 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ตัวอย่างต่างๆ ของกามฉันทะกับธรรมฉันทะ ตัวอย่างอื่นๆ ยังมีอีกมากมาย อย่างเด็กนักเรียนเดี๋ยวนี้ มองหน้ากันปั๊บ ก็เอ๊ะมองทำไม เอาเรื่องหรือไง จะเอาอย่างไร เอาแล้ว ก็จะลงมือใช้กำลังกันเท่านั้นเอง นี้ก็เป็…

— ตัวอย่างของกามฉันทะและธรรมฉันทะ กับการปฏิบัติคุณธรรมทางสังคม
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 20 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

ตัวอย่างของกามฉันทะและธรรมฉันทะ กับการปฏิบัติคุณธรรมทางสังคม ตัวอย่างยังมีอยู่มาก เช่น การแสดงความเคารพกัน การแสดงความเคารพก็แสดงออกถึงลักษณะ ๒ อย่างคือ การกระทำโดยวิถีทางของอวิชชาและตัณหา กับการกระทำ…