พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต (เกริ่นนำ)
เนื้อหาหลัก / 1 มกราคม 2513

เป็นตอนที่ 1 จาก 10 ตอนของ พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต

พระพุทธศาสนา กับการศึกษาในอดีต หัวข้อคำบรรยายเรื่องนี้ จำกัดเฉพาะขอบเขตของกาละว่า เป็นส่วนอดีต แต่ไม่กำจัดขอบเขตของเทศะว่า เป็นการศึกษาในประเทศหนึ่งประเทศใดโดยเฉพาะ แม้ในฝ่ายกาละที่เป็นส่วนอดีตนั้น ก็…

คณะสงฆ์เป็นสถาบันสังคมตัวอย่าง
เนื้อหาหลัก / 1 มกราคม 2513

เป็นตอนที่ 2 จาก 10 ตอนของ พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต

คณะสงฆ์เป็นสถาบันสังคมตัวอย่าง เมื่อพระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นนั้น ความเป็นอยู่ของประชาชนในชมพูทวีป ถูกกำหนดด้วยระบบความเชื่อถือและคำสอนของศาสนาพราหมณ์ ในทางสังคม มนุษย์ถูกแบ่งออกเป็นวรรณะต่างๆ ๔ วรรณะ คื…

หลักพระพุทธศาสนาส่งเสริมให้มีการจัดการศึกษา
เนื้อหาหลัก / 1 มกราคม 2513

เป็นตอนที่ 3 จาก 10 ตอนของ พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต

หลักพระพุทธศาสนาส่งเสริมให้มีการจัดการศึกษา จากข้อความที่กล่าวมานี้ จะมองเห็นต่อไปอีกว่า งานหลักหรือภารกิจสำคัญของสถาบันสงฆ์ ก็คือการศึกษา ระบบการต่างๆ ที่จัดขึ้นในทางการปกครองก็ดี ทางการเลี้ยงชีพก็ดี…

การศึกษาขยายตัว
เนื้อหาหลัก / 1 มกราคม 2513

เป็นตอนที่ 4 จาก 10 ตอนของ พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต

การศึกษาขยายตัว อาศัยองค์ประกอบทั้งทางคำสอน และการปฏิบัติในพระธรรมวินัยมาเกื้อหนุนเช่นนี้ การศึกษาในพระพุทธศาสนาก็ขยายตัวเป็นกิจการกว้างขวางยิ่งขึ้น ปรากฏหลักฐานในทางประวัติศาสตร์ว่า คณะสงฆ์ได้ทำให้เก…

เกิดมหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลก
เนื้อหาหลัก / 1 มกราคม 2513

เป็นตอนที่ 5 จาก 10 ตอนของ พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต

เกิดมหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลก หันมากล่าวถึงการศึกษาทางพระพุทธศาสนา ในประเทศ อินเดีย มีระยะสำคัญที่ควรสนใจเป็นพิเศษอยู่ตอนหนึ่ง คือ ตั้งแต่ราว พ.ศ. ๑๐๐๐ เศษ เป็นต้นมา เมื่อมีสัญญาณว่าพระพุทธศาสนาเริ่มเส…

ข้อสังเกตเกี่ยวกับความเจริญ และความเสื่อมของการศึกษาในอินเดีย
เนื้อหาหลัก / 1 มกราคม 2513

เป็นตอนที่ 6 จาก 10 ตอนของ พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต

ข้อสังเกตเกี่ยวกับความเจริญ และความเสื่อมของการศึกษาในอินเดีย ในหัวข้อเรื่องประวัติการศึกษาของสารานุกรมบริแตนนิกา ได้เขียนสรุปเกี่ยวกับความเป็นมา และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการศึกษาในประเทศอินเดีย มีข้อควา…

เปรียบเทียบมหาวิทยาลัยพุทธศาสนา กับมหาวิทยาลัยในยุโรป
เนื้อหาหลัก / 1 มกราคม 2513

เป็นตอนที่ 7 จาก 10 ตอนของ พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต

เปรียบเทียบมหาวิทยาลัยพุทธศาสนา กับมหาวิทยาลัยในยุโรป เรื่องราวเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยพุทธศาสนา ตามหลักฐานเท่าที่เล่ามาพอจะให้ลงความเห็นได้ว่า มหาวิทยาลัยพุทธศาสนาเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลก แต่การที่จะ…

พระพุทธศาสนากับการศึกษาสมัยเดิมของไทย
เนื้อหาหลัก / 1 มกราคม 2513

เป็นตอนที่ 8 จาก 10 ตอนของ พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต

พระพุทธศาสนากับการศึกษาสมัยเดิมของไทย ประวัติการแพร่หลายของพระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศไทยนั้นเท่าที่เห็น นิยมถือการแบ่งยุคตามพระนิพนธ์ของสมเด็จ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ทรงไว้ในหนังสือตำนานพุทธเจดีย…

ข้อสังเกต และข้อสรุปบางประการ เกี่ยวกับพระพุทธศาสนากับการศึกษาสมัยเดิมของไทย
เนื้อหาหลัก / 1 มกราคม 2513

เป็นตอนที่ 9 จาก 10 ตอนของ พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต

ข้อสังเกต และข้อสรุปบางประการ เกี่ยวกับพระพุทธศาสนากับการศึกษาสมัยเดิมของไทย ๑. การศึกษาของชาติไทยแต่เดิมมา มีศูนย์กลางที่เป็นแหล่งให้การศึกษา ๒ แหล่ง คือ วัด กับ วัง เป็นธรรมดาอยู่เอง ที่วังจะต้องเป็…

อนุโมทนา
เนื้อหาประกอบ / 1 มิถุนายน 2533

เป็นตอนที่ 10 จาก 10 ตอนของ พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต

อนุโมทนา พ.ท. ทองขาว พ่วงรอดพันธุ์ นายกสมาคมศิษย์เก่า มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในนามของสมาคมฯ ได้มีกุศลฉันทะ แจ้งความประสงค์ที่จะพิมพ์หนังสือ เรื่อง “พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต” เพื่อเผยแพร่ให้เป็นปร…