(กล่าวนำ)
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 1 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

การศึกษา เพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน ขอเจริญพร ท่านอดีตอธิบดีกรมการฝึกหัดครู ดร.สายหยุด จำปาทอง ท่านอธิบดีกรมการฝึกหัดครูในปัจจุบัน พร้อมทั้งท่านผู้บริหารสถาบันราชภัฏ ตลอดจนอาจารย์ และท่านผู้สนใจใฝ่รู้ไฝ่…

บทนำ การศึกษาสู่ยุคโลกาภิวัตน์
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 2 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

บทนำ การศึกษาสู่ยุคโลกาภิวัตน์ มนุษย์ไม่ใช่เป็นเพียงทรัพยากร ตอนแรก มีข้อสังเกตเกี่ยวกับถ้อยคำเล็กน้อย ในการที่จะเอาศาสนามาจัดการศึกษานั้น ในที่นี้แสดงความมุ่งหมายไว้ว่า เพื่อจะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แสด…

หน้าที่และเหตุผลที่แท้ของการศึกษา
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 3 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

หน้าที่และเหตุผลที่แท้ของการศึกษา เวลานี้อารยธรรมของมนุษย์ได้มาถึงจุดติดตัน โดยเริ่มจากประเทศพัฒนาแล้วทั้งหลายซึ่งมาถึงจุดติดตันนี้ก่อน เพราะฉะนั้น การศึกษาจะต้องเน้นความสำคัญในหน้าที่และบทบาทหลังนี้ …

ในกระแสโลกาภิวัตน์ที่ผิด เมื่ออารยธรรมติดตัน ทุกคนทุกชนชาติต้องร่วมกันแก้ไข
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 4 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

ในกระแสโลกาภิวัตน์ที่ผิด เมื่ออารยธรรมติดตัน ทุกคนทุกชนชาติต้องร่วมกันแก้ไข ก่อนที่จะพูดถึงเรื่องการนำเอาหลักพระพุทธศาสนามาใช้ในการจัดการศึกษา ควรจะพูดถึงสภาพปัจจุบันและปัญหาของโลกเสียก่อน การศึกษาที่…

– ๑ – พัฒนาให้ทันโลกาภิวัตน์
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 5 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

– ๑ – พัฒนาให้ทันโลกาภิวัตน์ ชอบใช้เทคโนโลยี แต่ไม่รู้จักวิทยาศาสตร์ ในท่ามกลางกระแส “โลกาภิวัตน์” มีปัญหาและปัจจัยต่างๆ ที่เราจะต้องเข้าไปวิเคราะห์แยกแยะดูมากมาย ปัจจัยส่วนหนึ่งที่สำคัญของกระแสโลกาภิ…

ถึงแม้มีข้อมูลข่าวสารมากมาย แต่ถ้ารับและใช้ไม่เป็น ก็ไม่มีความหมาย
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 6 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

ถึงแม้มีข้อมูลข่าวสารมากมาย แต่ถ้ารับและใช้ไม่เป็น ก็ไม่มีความหมาย ยุคนี้เป็น “ยุคโลกาภิวัตน์” และโลกาภิวัตน์ที่เด่นที่สุด แม้ว่าอาจจะไม่ใช่สำคัญที่สุดก็คือ ข่าวสารข้อมูล หรือจะเรียกว่าสารสนเทศ หรืออะ…

จัดสิ่งที่ดีที่สุดให้แก่เด็ก แต่ต้องให้เด็กเอาดีได้จากสิ่งที่เลวที่สุด
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 7 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

จัดสิ่งที่ดีที่สุดให้แก่เด็ก แต่ต้องให้เด็กเอาดีได้จากสิ่งที่เลวที่สุด ขอแทรกตรงนี้หน่อยว่า การศึกษาขั้นต้น ตามหลักพระพุทธศาสนา ท่านให้ความสำคัญแก่การพัฒนากาย หรือพัฒนาการทางกาย ที่เรียกว่ากายภาวนานี้…

ความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอื่น รุก-นำ หรือรับ-ตาม เสริมตัว หรือเสียตัว
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 8 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

ความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอื่น รุก-นำ หรือรับ-ตาม เสริมตัว หรือเสียตัว ในโลกยุคโลกาภิวัตน์นี้ เรื่องสำคัญอย่างหนึ่งก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมต่างๆ ความจริงความสัมพันธ์ระหว่างสังคมต่างๆ มีมานานแล้ว โด…

– ๒ – ทางออกจากอารยธรรมที่ไม่ยั่งยืน
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 9 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

– ๒ – ทางออกจากอารยธรรมที่ไม่ยั่งยืน ถึงแม้ยังถูกระบบผลประโยชน์ครอบงำ ก็ต้องให้การได้ถูกดุลด้วยการให้ ในยุคปัจจุบันนี้ เรื่องสำคัญๆ หนีไม่พ้นปัญหาเศรษฐกิจ เศรษฐกิจเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างสรรค์ความเจร…

ข้ามพ้นความไม่ประมาทเทียม ในระบบแข่งขัน สู่การสร้างสรรค์สังคมด้วยความไม่ประมาทที่แท้
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 10 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

ข้ามพ้นความไม่ประมาทเทียม ในระบบแข่งขัน สู่การสร้างสรรค์สังคมด้วยความไม่ประมาทที่แท้ อนึ่ง ระบบเศรษฐกิจ “ทุนนิยม” โดยเฉพาะแบบอเมริกันนั้น ถือเอา “การแข่งขัน” เป็นหัวใจของการพัฒ…