(กล่าวนำ)
เนื้อหาหลัก / 28 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 1 จาก 5 ตอนของ นิติศาสตร์แนวพุทธ

นิติศาสตร์แนวพุทธ ขอเจริญพร ท่านอัยการสูงสุด ท่านผู้ทรงคุณวุฒิในวงการนิติศาสตร์ ท่านผู้สนใจใฝ่รู้ใฝ่ธรรมทุกท่าน วันนี้ อาตมภาพได้รับนิมนต์ให้มาแสดงปาฐกถา ซึ่งในที่นี้เรียกว่าปาฐกถาพิเศษ และก็เป็นพิเศษ…

บทนำ นิติศาสตร์กับ ธรรมศาสตร์
เนื้อหาหลัก / 28 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 2 จาก 5 ตอนของ นิติศาสตร์แนวพุทธ

บทนำ นิติศาสตร์ กับ ธรรมศาสตร์ ก่อนอื่น จะพูดถึงคำศัพท์ คำว่า “นิติศาสตร์” แปลกันว่า วิชากฎหมาย แต่ที่จริงนั้นเรานำคำนี้มาจากภาษาสันสกฤตซึ่งเป็นภาษาของประเทศอินเดียที่มีอารยธรรมเก่าแก่แต่โบราณ นิติศาส…

– ๑ – หลักการพื้นฐาน
เนื้อหาหลัก / 28 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 3 จาก 5 ตอนของ นิติศาสตร์แนวพุทธ

– ๑ – หลักการพื้นฐาน กฎหมาย ต้องมาจากธรรม ต้องชอบธรรม และต้องเพื่อธรรม เรามาดูกันว่า ในพระพุทธศาสนา กฎหมายคืออะไร คำที่ใกล้ที่สุด ตรงที่สุด ก็คือคำว่า “วินัย” แต่จะเห็นได้ชัดว่า คำว่าวินัย…

– ๒ – หลักแห่งปฏิบัติการ
เนื้อหาหลัก / 28 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 4 จาก 5 ตอนของ นิติศาสตร์แนวพุทธ

– ๒ – หลักแห่งปฏิบัติการ ถ้าคนอยู่ในหลักการ ก็ไม่ต้องมีกฎหมาย ถ้ากฎหมายไม่ใช่เพื่อหลักการ ก็ไม่ควรให้เป็นกฎหมาย กฎหมายแม้จะมีความสำคัญ แต่ก็ไม่เพียงพอและไม่เป็นหลักประกันว่าจะทำให้ชีวิตดีงามและสังคมมี…

บทส่งท้าย มองอดีตถึงปัจจุบัน เพื่อสร้างสรรค์อนาคต
เนื้อหาหลัก / 28 มีนาคม 2539

เป็นตอนที่ 5 จาก 5 ตอนของ นิติศาสตร์แนวพุทธ

บทส่งท้าย มองอดีตถึงปัจจุบัน เพื่อสร้างสรรค์อนาคต * ดุลยภาพโดยรวมของสังคมสัมฤทธิ์ได้ ด้วยการจัดการทางสังคม สู่เป้าหมายแห่งการพัฒนาคน ฝ่ายนิติบัญญัติของไทยจะทำอย่างไร ถ้าจะคิดเกื้อกูลให้พุทธศาสนาอยู่ดี…