การศึกษาเริ่มต้นเมื่อคนเริ่มคิด ทีนี้ก็ถึงแง่ที่ว่า ทำอย่างไรจะให้ครูทำหน้าที่กัลยาณมิตรได้ หรือแนะนำชี้ช่องทางให้ศิษย์สามารถไปดำเนินชีวิตที่ดี มีความรู้สึกนึกคิดที่ดี เราก็จะต้องมาเริ่มต้นกันตั้งแต่จ…
พุทธิศึกษาและจริยศึกษา กับ สุตศึกษาและศิลปศึกษา เมื่อเรามองการศึกษากันจนถึงรากฐานสุดอย่างนี้แล้ว ก็จะเห็นว่าตามความหมายทางพุทธศาสนาที่แท้จริงแล้ว พุทธิศึกษาจะไม่แยกจากจริยศึกษา เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะตรั…
อวิชชา – ตัณหา – อัตตา ทีนี้ ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์ พอครูเห็นศิษย์หน้าตาบึ้งบูดมีพฤติการณ์ไม่น่าพอใจ นั่นคือมองเห็นรูปลักษณ์หนึ่งแล้ว รูปลักษณ์นั้นเป็นรูปลักษณ์ที่ไม่ดี ไม่…
ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ ๓. เรื่องต่อไป คุณค่าแท้คุณค่าเทียมจะมีผลทางปฏิบัติอย่างไร จะขอพูดอีกครั้งในเรื่องการสนองความต้องการทางปัญญา และการสนองความต้องการในด้านตัณหา กล่าวคือในการกระทำของคนเรานั้นเราจะ…
ปัญญากับอิสรภาพ และกรุณา ๔. ปัญหาก็มีว่า ปัญญาที่แท้จริง ชนิดที่เราต้องการนั้นคืออะไร ปัญญาความรู้ความเข้าใจที่ได้รู้เห็นอะไรมาก รู้กว้างขวาง ฉลาดในการทำมาหาเลี้ยงชีพ อันนี้เป็นปัญญาหรือไม่ ถ้าหากเราเ…
การจัดการกับตัณหา เรื่องที่กล่าวมาในตอนนี้ มีความสำคัญควรสังเกตอีกอย่างหนึ่ง คือ เป็นตอนที่ใช้ตอบปัญหาเรื่องแรงจูงใจหรือแรงขับในการทำการต่างๆ จะเห็นว่า ผู้ที่ศึกษาหรือคุ้นแต่กับจิตวิทยาการศึกษาของฝ่าย…
คำนำ (พิมพ์ครั้งที่ ๒) มูลนิธิโกมลคีมทอง มีกุศลเจตนา จะจัดพิมพ์หนังสือ “ปรัชญาการศึกษาไทย” เพื่อเผยแพร่ใหม่เป็นครั้งที่ ๒ เพื่อให้เป็นประโยชน์กว้างขวางยิ่งขึ้น “ปรัชญาการศึกษาไทย” นี้ จัดพิมพ์ครั้งแรก…
สรุปจุดเริ่มของความคิด หรือการมองความหมายและการตีค่า ๒ แบบ เท่าที่กล่าวมานี้ ก็เป็นตัวอย่างต่างๆ ทีนี้เราลองมาวิเคราะห์กันว่า ในการเริ่มเดินสายความคิด หรือการมองความหมายและตีค่าเหล่านี้ เราแบ่งประเภทใ…
ความรู้ประเภทที่ ๒ : ปัญญาหรือความรู้ที่เป็นตัวการศึกษา ทีนี้ ก็มีปัญหาต่อไปอีกว่า การมองความหมายและการตีค่าในแบบอวิชชาและตัณหาเป็นอย่างไร ลักษณะของอวิชชาคือความไม่รู้ ที่ว่าไม่รู้นั้น ไม่รู้อย่างไร ท…
ปรัชญาการศึกษา ตามหลักพระพุทธศาสนา (มองจากภาคปฏิบัติ) (หมายเหตุ: ทางเว็บไซต์ ได้จัดปรับวรรคตอนและแบ่งซอยย่อหน้าให้มากขึ้นกว่าในหนังสือต้นฉบับ เพื่อความสะดวกในการอ่าน) ท่านอาจารย์และท่านนักศึกษาทั้งหลา…