๔. ความสำคัญของอาสาฬหบูชา
เนื้อหาหลัก / 6 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 7 จาก 9 ตอนของ วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา

๔. ความสำคัญของอาสาฬหบูชา ตามเหตุการณ์และคำสอนที่ได้เล่ามาข้างต้น สรุปความสำคัญของวันอาสาฬหบูชาได้ดังนี้ เป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา เป็นวันที่พระพุทธเจ้าเริ่มประกาศพระศาสนา เป็นวันที่เกิดอริ…

— ข. อริยสัจจ์ ๔
เนื้อหาหลัก / 6 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 4 จาก 9 ตอนของ วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา

ข. อริยสัจจ์ ๔ อริยสัจจ์ ๔ แปลว่า ความจริงอันประเสริฐหรือความจริงของอริยะ หรือสัจธรรมที่รู้แล้วจะทำให้กลายเป็นอริยะหรืออารยชน ๔ ประการ อริยะ หรืออารยชน คือบุคคลที่ห่างไกลจากกิเลส ห่างไกลจากอวิชชา เป็น…

๓. ความหมายของอาสาฬหบูชา
เนื้อหาหลัก / 6 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 6 จาก 9 ตอนของ วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา

๓. ความหมายของอาสาฬหบูชา อาสาฬหบูชา ประกอบขึ้นจากคำ ๒ คำ คือ อาสาฬห (เดือน ๘ ทางจันทรคติ) กับบูชา (การบูชา) เมื่อรวมกันเข้าจึงแปลว่า การบูชาในเดือน ๘ หรือการบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในเดือน ๘ ถ้…

วันอาสาฬหบูชา
เนื้อหาหลัก / 6 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 1 จาก 9 ตอนของ วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา

วันอาสาฬหบูชา วันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๘ พ.ศ. ๒๕๒๕ นับทวนอดีตย้อนหลังกลับไป ๒๕๗๐ ปี เป็นวันที่พระพุทธเจ้ากำลังทรงบำเพ็ญพุทธกิจครั้งยิ่งใหญ่ ที่พุทธศาสนิกชนถือกันว่าเป็นเหตุการณ์สำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสต…

วันเข้าพรรษา
เนื้อหาหลัก / 6 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 9 จาก 9 ตอนของ วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา

วันเข้าพรรษา คำว่า พรรษา แปลว่า ฤดูฝน ปีหนึ่งก็ผ่านฤดูฝนครั้งหนึ่ง คนที่อยู่มาเท่านั้นฝนเท่านี้ฝนก็คืออยู่มาเท่านั้นปี ดังนั้น ในที่ทั่วๆ ไป จึงแปลพรรษากันว่า ปี คำว่า เข้าพรรษา ก็คือ เข้าฤดูฝน คือถึง…

พุทธธรรมกับการพัฒนาชีวิตบุคคล

เป็นตอนที่ 8 จาก 13 ตอนของ ค่านิยมแบบพุทธ

พุทธธรรมกับการพัฒนาชีวิตบุคคล ขอเจริญพรท่านอาจารย์และอุบาสกอุบาสิกา สาธุชนทุกท่านทุกคน เมื่อกี้นี้ได้มีพิธีถวายสักการะ ซึ่งอาตมาได้กล่าวว่า ถือเป็นการเริ่มต้นที่ดีงาม และท่านปราโมทย์ก็ได้ปรารภเรื่องนี…

ภาคสนทนา: การถือมังสวิรัติ ผิดหรือถูกอย่างไร
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 10 จาก 10 ตอนของ พุทธศาสนากับชีวิตและสังคม

ในภาคสนทนา ได้มีผู้ถามปัญหาเกี่ยวกับมังสวิรัติว่า การถือในเรื่องนี้ผิดหรือถูกอย่างไร เห็นว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจ จึงขอตอบไว้ ณ ที่นี้ด้วย เรื่องมังสวิรัตินี้ ขอให้พิจารณาด้วยใจเป็นกลาง ไม่ถือสาด้วยอาร…

ความแตกต่างหลากหลาย ในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 6 จาก 10 ตอนของ พุทธศาสนากับชีวิตและสังคม

ความแตกต่างหลากหลาย ในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ตัวอย่างความแตกต่างหลากหลายนี่เราเห็นมาก อย่างคฤหัสถ์ที่บรรลุธรรมเป็นโสดาบันเป็นอริยบุคคลอยู่ครองเรือนมีบุตรภรรยา แต่ว่าได้บรรลุโลกุตตรธรรมแล้ว แต่พระ…

พุทธศาสนาในสังคมไทย
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 9 จาก 10 ตอนของ พุทธศาสนากับชีวิตและสังคม

พุทธศาสนาในสังคมไทย ด้านหนึ่ง ได้แก่ ศาสนธรรม คือ หลักคำสอน อีกด้านหนึ่ง คือ สิ่งที่เราเรียกในสมัยใหม่ว่าสถาบัน หมายถึงสถาบัน หรือกิจการทั้งหลายซึ่งเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาในสังคมนี้ นิสิตนักศึกษาชาวพุท…

ความแตกต่างในสังคมชาวพุทธ
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 5 จาก 10 ตอนของ พุทธศาสนากับชีวิตและสังคม

ความแตกต่างในสังคมชาวพุทธ เมื่ออยู่ในพระพุทธศาสนาแล้ว จึงยังมีความแตกต่างกันไปได้มากมายในหมู่ชาวพุทธ แม้แต่ขั้นที่เป็นอุดมคติ ที่เราเรียกว่าเป็นอริยสงฆ์ หรือเดิมเรียกว่าเป็น สาวกสงฺโฆ (ศัพท์ว่าอริยสงฆ…