จะยัดเยียด หรือจะปล่อยตามใจ ก็ไม่ใช่ทางสายกลาง
เนื้อหาหลัก / 28 พฤศจิกายน 2533

เป็นตอนที่ 18 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

จะยัดเยียด หรือจะปล่อยตามใจ ก็ไม่ใช่ทางสายกลาง ๑๓. ในทางการศึกษา มีการย้ำกันมากว่า ไม่ให้สอนแบบยัดเยียด แต่มักจะไม่พูดกันให้ชัดแจ้งถึงแง่มุมต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้ เลยบางทีจะกลายเป็นเพียงการพูดตามๆ ก…

บทสรุปและข้อเสนอแนะ
เนื้อหาหลัก / 28 พฤศจิกายน 2533

เป็นตอนที่ 25 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

บทสรุปและข้อเสนอแนะ เมื่อพูดอย่างรวบรัด รัฐควรจัดหลักสูตรการศึกษาให้คนไทยส่วนใหญ่ได้ศึกษาพระพุทธศาสนา ด้วยเหตุผลสำคัญ ๓ ประการ คือ คนไทยส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นพุทธศาสนิกชนควรมีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติถู…

ภาค ๑ – ทำไมคนไทยจึงเรียนพระพุทธศาสนา?
เนื้อหาหลัก / 28 พฤศจิกายน 2533

เป็นตอนที่ 1 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

ภาค ๑ ทำไมคนไทยจึงเรียนพระพุทธศาสนา? ข้อพิจารณาเกี่ยวกับวิชาพระพุทธศาสนาและจริยศึกษา ในหลักสูตรการศึกษาของชาติ ระยะนี้ ได้มีการถกเถียงกันเกี่ยวกับวิชาพระพุทธศาสนาในหลักสูตรประถมและมัธยมศึกษาว่าควรจะจั…

บูรณาการที่หล่นหายไปจากจริยศึกษาของไทย บนเส้นทางของจริยธรรมสากล
เนื้อหาหลัก / 28 พฤศจิกายน 2533

เป็นตอนที่ 13 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

บูรณาการที่หล่นหายไปจากจริยศึกษาของไทย บนเส้นทางของจริยธรรมสากล ๑๐. จริยศึกษาของรัฐใน ๒-๓ ทศวรรษที่ผ่านมา ได้มีแนวโน้มที่จะหันเหไปในทิศทางของจริยธรรมสากล ประจวบกับในช่วงหลังนี้ แนวความคิดแบบบูรณาการได…

สัญญาณเตือนภัยให้เร่งรัดส่งเสริมพุทธจริยศึกษา
เนื้อหาหลัก / 28 พฤศจิกายน 2533

เป็นตอนที่ 12 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

สัญญาณเตือนภัยให้เร่งรัดส่งเสริมพุทธจริยศึกษา ๙. ข่าวร้ายต่างๆ ในวงการพุทธศาสนาของไทย เกี่ยวกับภิกษุบางรูปประพฤติเสียหาย ละเมิด ตลอดจนลบล้างบิดเบือนพระธรรมวินัย ปรากฏชัดเจน เป็นเหตุการณ์ใหญ่อื้อฉาวติด…

รสจืดของความจริง
เนื้อหาหลัก / 13 กันยายน 2533

เป็นตอนที่ 4 จาก 11 ตอนของ กระแสธรรม เพื่อชีวิตและสังคม

รสจืดของความจริง นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ โย จ วสฺสสตํ ชีเว      อปสฺสํ อุทยพฺพยํ เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย   ปสฺสโต อุทยพฺพยนฺติ ณ บัดนี้ อาตมภาพจะวิสัชชนาพระธรรมเทศนา พรรณนาอานิสงส์ คือผลดี…

จะรู้ดีในเรื่องไทย ก็ต้องเข้าใจพระพุทธศาสนา
เนื้อหาหลัก / 8 สิงหาคม 2533

เป็นตอนที่ 3 จาก 6 ตอนของ มหาวิทยาลัยกับงานวิจัยทางพระพุทธศาสนา

จะรู้ดีในเรื่องไทย ก็ต้องเข้าใจพระพุทธศาสนา ในการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องสังคมไทย หรือวัฒนธรรมไทยนั้น สิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ เรื่องพระพุทธศาสนา ยกตัวอย่างเช่นเราอาจจะไปอ่านหนังสือของ S. J. Tambiah ซึ่งเป็น…

ถึงจะเป็นนักวิชาการไทย แต่อาจอยู่ใต้กรอบความคิดแบบฝรั่ง
เนื้อหาหลัก / 8 สิงหาคม 2533

เป็นตอนที่ 6 จาก 6 ตอนของ มหาวิทยาลัยกับงานวิจัยทางพระพุทธศาสนา

ถึงจะเป็นนักวิชาการไทย แต่อาจอยู่ใต้กรอบความคิดแบบฝรั่ง เท่าที่พูดมาก็เป็นอันว่า ในสังคมไทยนี้ เราจะต้องทำงานวิจัย โดยเฉพาะอาจจะต้องวิจัยพระพุทธศาสนาในหลายแง่หลายอย่าง ความจริงขณะนี้เราก็ทำกันอยู่ คือ…

การศึกษาพระพุทธศาสนากับความก้าวหน้าใหม่ๆ ในวงวิชาการของตะวันตก
เนื้อหาหลัก / 8 สิงหาคม 2533

เป็นตอนที่ 5 จาก 6 ตอนของ มหาวิทยาลัยกับงานวิจัยทางพระพุทธศาสนา

การศึกษาพระพุทธศาสนากับความก้าวหน้าใหม่ๆ ในวงวิชาการของตะวันตก แม้ในวงวิชาการทั่วไป ที่เป็นการวิจัยเหนือระดับปริญญาหรือไม่เกี่ยวกับการทำปริญญา ที่เป็นเรื่องของการนำวิชาการมาใช้อย่างกว้างขวาง ก็จะเห็นว…