วินัยกับศีล
เนื้อหาหลัก / 25 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 6 จาก 13 ตอนของ วินัย เรื่องใหญ่กว่าที่คิด

วินัยกับศีล อนึ่ง ควรจะเข้าใจคำศัพท์ที่มีความหมายใกล้เคียงกัน ในเรื่องวินัย วินัย มีคำที่ใช้คู่กันคำหนึ่งคือ ศีล ซึ่งในภาษาไทยปัจจุบันเรานำไปใช้ในความหมายแคบๆ และบางทีก็แตกต่างห่างกันไกลกับคำว่าวินัย …

ความหมายของวินัย พัฒนาไปตามการพัฒนาของคน
เนื้อหาหลัก / 25 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 11 จาก 13 ตอนของ วินัย เรื่องใหญ่กว่าที่คิด

ความหมายของวินัย พัฒนาไปตามการพัฒนาของคน กฎกติกานั้น มีขึ้นมาเพื่ออะไร กฎกติกาเป็นส่วนของสังคม มีขึ้นมาเพื่อผลประโยชน์แก่สังคม เพื่อชีวิตแต่ละชีวิตที่จะมาอยู่ร่วมกันด้วยดี โดยมีโอกาสที่จะดำเนินไปได้อย…

ความสัมฤทธิ์ผลของวินัย
เนื้อหาหลัก / 25 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 5 จาก 13 ตอนของ วินัย เรื่องใหญ่กว่าที่คิด

ความสัมฤทธิ์ผลของวินัย เป็นอันว่า พระพุทธเจ้าทรงค้นพบธรรม และเพื่อให้ธรรมคือความจริงตามกฎธรรมชาตินั้น อำนวยผลเป็นประโยชน์แก่หมู่มนุษย์ จึงทรงวางวินัยขึ้นมาเป็นกฎเกณฑ์ในหมู่มนุษย์ วินัยนั้นมีความหมายเป…

ความจริงแท้คืออะไร
เนื้อหาหลัก / 25 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 3 จาก 13 ตอนของ วินัย เรื่องใหญ่กว่าที่คิด

ความจริงแท้คืออะไร การขุดดินเป็นเหตุ อะไรเป็นผลกันแน่ ผลที่แท้จริงคือหลุม หรือโพรง หรืออะไรก็ได้ที่เป็นเรื่องของดินที่ถูกขุด ซึ่งจัดว่าเป็นผลตามธรรมชาติแน่นอน ไม่มีผิดเพี้ยน หลุมจะเกิดได้ต้องมีการขุด …

ทำไมจึงต้องจัดระเบียบ ทำไมจึงต้องมีวินัย
เนื้อหาหลัก / 25 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 8 จาก 13 ตอนของ วินัย เรื่องใหญ่กว่าที่คิด

ทำไมจึงต้องจัดระเบียบ ทำไมจึงต้องมีวินัย ถ้าชีวิตวุ่นวาย การเป็นอยู่ของมนุษย์สับสนหาระเบียบไม่ได้ โอกาสในการดำเนินชีวิตก็จะหายไป เช่นในที่ประชุมนี้ ถ้าเราไม่มีระเบียบเลย โต๊ะเก้าอี้ก็วางเกะกะทั่วไป คน…

วินัยในฐานะเป็นองค์ประกอบของประชาธิปไตย
เนื้อหาหลัก / 25 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 10 จาก 13 ตอนของ วินัย เรื่องใหญ่กว่าที่คิด

วินัยในฐานะเป็นองค์ประกอบของประชาธิปไตย การฝึกวินัยนี้ มีความหมายอีกอย่างหนึ่งด้วย คือเราถือว่าวินัยเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของประชาธิปไตย ถ้าไม่มีวินัย ประชาธิปไตยก็ตั้งอยู่ยาก เพราะประชาธิปไตยเป็นการปก…

ข้ามพ้นความไม่ประมาทเทียม ในระบบแข่งขัน สู่การสร้างสรรค์สังคมด้วยความไม่ประมาทที่แท้
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 10 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

ข้ามพ้นความไม่ประมาทเทียม ในระบบแข่งขัน สู่การสร้างสรรค์สังคมด้วยความไม่ประมาทที่แท้ อนึ่ง ระบบเศรษฐกิจ “ทุนนิยม” โดยเฉพาะแบบอเมริกันนั้น ถือเอา “การแข่งขัน” เป็นหัวใจของการพัฒ…

จัดสิ่งที่ดีที่สุดให้แก่เด็ก แต่ต้องให้เด็กเอาดีได้จากสิ่งที่เลวที่สุด
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 7 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

จัดสิ่งที่ดีที่สุดให้แก่เด็ก แต่ต้องให้เด็กเอาดีได้จากสิ่งที่เลวที่สุด ขอแทรกตรงนี้หน่อยว่า การศึกษาขั้นต้น ตามหลักพระพุทธศาสนา ท่านให้ความสำคัญแก่การพัฒนากาย หรือพัฒนาการทางกาย ที่เรียกว่ากายภาวนานี้…

ในกระแสโลกาภิวัตน์ที่ผิด เมื่ออารยธรรมติดตัน ทุกคนทุกชนชาติต้องร่วมกันแก้ไข
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2538

เป็นตอนที่ 4 จาก 17 ตอนของ การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน

ในกระแสโลกาภิวัตน์ที่ผิด เมื่ออารยธรรมติดตัน ทุกคนทุกชนชาติต้องร่วมกันแก้ไข ก่อนที่จะพูดถึงเรื่องการนำเอาหลักพระพุทธศาสนามาใช้ในการจัดการศึกษา ควรจะพูดถึงสภาพปัจจุบันและปัญหาของโลกเสียก่อน การศึกษาที่…

การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน
หนังสือ , ธรรมนิพนธ์ / 24 มกราคม 2538

“มนุษย์” เป็นชีวิตที่มีความประเสริฐ มีความสำคัญในตัวของมันเอง และชีวิตนั้นอาจจะมีความสมบูรณ์ได้แม้ในตัวของมันเอง ไม่ใช่เป็นเพียงเครื่องมือหรือส่วนประกอบที่จะเอามาใช้สร้างสรรค์สิ่งอื่นเท่านั้น ถ้าเราพู…