ดูใจ ขึ้นไปให้ถึงปัญญา ไม่ใช่ปล่อยใจให้จมอยู่ใต้สิ่งที่ดู ทีนี้ก็มาดูใจ ดูใจนี่ ถ้าว่าถึงหลักเดิมก็คือ จิตตานุปัสสนา ในสติปัฏฐาน ๔ เมื่อปฏิบัติในระยะแรกๆ บางสำนักก็จะเน้นการดูจิต มันเป็นเทคนิคของสำนัก…
พอใจจึงควรทำ ก็มี ไม่ต้องพอใจ แต่ใจเข้มแข็ง ควรจะทำ ก็มี สำคัญที่ฝึกตน โดยรู้จักใช้ปัญญา ตามคำถามข้างต้น มีการสอนว่า การที่บุคคลตั้งใจทำกิจวัตรให้ตรงต่อเวลาอยู่เป็นประจำสม่ำเสมอนั้น จัดอยู่ในจำพวกสีลั…
ถาม ๒ ข้อ – ตอบยาวแยกหลายข้อ สีลัพพตปรามาส วินัย ดูใจ ฯลฯ พระเก่าถามพระพรหมคุณาภรณ์ที่กุฏิ หลังอุโบสถ วันศุกร์ที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๗ ถาม ระยะปีสองปีมานี้ ได้ยินพระบ้าง โยมบ้าง คุยกันเรื่องแนวการปฏิบั…
วินัยมาช่วยให้ปฏิบัติธรรมได้จริง ย้ำให้ยิ่งต้องเข้มแข็งในการฝึก กิจวัตรเป็นต้นนั้น เป็นส่วนหนึ่งของวินัย ว่าโดยความหมายทั่วไป วินัยนี้มุ่งในแง่สังคม มันเป็นเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อให้ชุมชนมีความประพฤติเสมอก…
เมื่อปฏิบัติถูกชัดแน่แล้ว ก็เข้มแข็งจริงจังแน่วไปเลย ตอนนี้ ถ้าชัดแก่ตนแล้วว่า เรารู้ความหมายและความมุ่งหมายเข้าใจถูกต้อง ทีนี้ก็ปฏิบัติด้วยความเข้มแข็ง จิตใจก็จะแช่มชื่นเบิกบาน มีความมั่นใจ ก็เอาจริง…
พูดตักเตือนว่ากล่าว ไม่จำเป็นอะไรที่จะทำด้วยความโกรธ หวังดีก็เตือนได้ อีกข้อหนึ่งบอกว่า เมื่อพบเห็นคนทำผิดกฎระเบียบ เราไม่ควรแสดงความโกรธ หรือพูดจาตักเตือนว่ากล่าว แต่เราควรรักษาใจตัวเองโดยการนิ่งเฉยเ…
ทำห้าข้อนี้ได้ จิตใจจะดีจริงๆ เมื่อกี้นี้ได้บอกว่า พอเราปฏิบัติธรรมถูกต้องได้ผล ปราโมทย์ก็จะเกิดขึ้นมาเป็นคุณภาพจิตใจข้อต้นของผู้เข้าทางแล้ว และทั้งเป็นจุดหัวต่อที่จะพัฒนาไปเป็นสมาธิ ทีนี้ก็ขยายความอี…
ต้องระวังไว้บ้าง ไม่ให้เขวผิดทางไปเสีย ขอแทรกความรู้ประกอบในตอนนี้หน่อยหนึ่งว่า ปีติและความสุข หรือแม้แต่ปราโมทย์ ที่พูดถึงกระจายอยู่ในที่ต่างๆ นั้น ไม่ใช่ว่าจะเป็นของดีที่จะมาเข้าลำดับในชุดอย่างนี้ได…
ประภัสสร สะท้อนสู่ ปราโมทย์ พูดได้ว่า ปราโมทย์นี้แหละเป็นอาการแสดงออกของจิตใจในภาวะที่ใกล้กับธรรมชาติของมันเอง บอกแล้วว่า สภาวะของจิตตามธรรมชาติของมันเองเป็น “ประภัสสร” คือ เปล่งปลั่ง เจิดจ้า บริสุทธิ…
ธรรมชาติของจิตเองนั้นเปล่งปลั่ง ทำไมพระพุทธเจ้าจึงทรงเน้นย้ำบ่อยมาก ให้เรามีจิตใจและทำจิตใจให้ปราโมทย์ คือให้ร่าเริงเบิกบานสดชื่นแจ่มใส มองดูง่ายๆ จิตใจที่มีปราโมทย์อย่างที่ว่านี้ ก็คือตรงข้ามกับจิตใจ…