คำให้สัมภาษณ์และตอบชี้แจง
เนื้อหาหลัก / 7 กรกฎาคม 2532

เป็นตอนที่ 1 จาก 6 ตอนของ เพื่อความเข้าใจปัญหาโพธิรักษ์ (ฉบับย่อ-เพิ่มเติม)

เนื้อหาส่วนนี้ ได้รับการรวมพิมพ์เผยแพร่ใหม่ในเรื่อง “เพื่อความเข้าใจปัญหาโพธิรักษ์ (รวมทั้งบทความพิเศษและบทพิสูจน์)“

ภาคผนวก: โพธิรักษ์ กับ การตีความพระธรรมวินัย
เนื้อหาหลัก / 7 กรกฎาคม 2532

เป็นตอนที่ 2 จาก 6 ตอนของ เพื่อความเข้าใจปัญหาโพธิรักษ์ (ฉบับย่อ-เพิ่มเติม)

ภาคผนวก โพธิรักษ์ กับ การตีความพระธรรมวินัย ความสับสนเกี่ยวกับปัญหาท่านโพธิรักษ์ ยังคงมีอยู่มาก มีเสียงพูดประปรายว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นเพียงเรื่องของการตีความพระธรรมวินัย ไม่น่าจะเกิดเป็นเรื่องราวขึ…

— ตัวอย่างที่ ๑
เนื้อหาหลัก / 7 กรกฎาคม 2532

เป็นตอนที่ 3 จาก 6 ตอนของ เพื่อความเข้าใจปัญหาโพธิรักษ์ (ฉบับย่อ-เพิ่มเติม)

๑. มีศัพท์ธรรมจากภาษาบาลี ที่พบค่อนข้างบ่อยคู่หนึ่ง คือ คำว่า พหูสูต กับ พาหุสัจจะ พหูสูต เป็นคุณศัพท์ แปลว่า ผู้ได้สดับมาก หรือผู้ที่ได้เล่าเรียนได้อ่านได้ฟังมาก ส่วนพาหุสัจจะ เป็นคำนามที่มาจากคำว่าพ…

— ตัวอย่างที่ ๒
เนื้อหาหลัก / 7 กรกฎาคม 2532

เป็นตอนที่ 4 จาก 6 ตอนของ เพื่อความเข้าใจปัญหาโพธิรักษ์ (ฉบับย่อ-เพิ่มเติม)

๒. มุทิตา แปลกันมาว่า ความพลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี หมายถึง ความยินดีด้วยเมื่อผู้อื่นประสบความสุขหรือความสำเร็จ เป็นคุณธรรมอย่างหนึ่งในพรหมวิหาร ๔ ประการ คือ เป็นธรรมประจำใจของผู้ประเสริฐซึ่งมีจิตใจก…

— ตัวอย่างที่ ๓
เนื้อหาหลัก / 7 กรกฎาคม 2532

เป็นตอนที่ 5 จาก 6 ตอนของ เพื่อความเข้าใจปัญหาโพธิรักษ์ (ฉบับย่อ-เพิ่มเติม)

๓. การแยกศัพท์และแสดงรากศัพท์ต่างๆ ของท่านโพธิรักษ์นี้ มองได้ว่าเป็นการกระทำอย่างขาดความรับผิดชอบ และไม่มีหลักมีเกณฑ์อะไรทั้งสิ้น สุดแต่จะมองเห็นตัวอักษรที่พอจะดึงเข้าหาคำอธิบายที่ตนต้องการได้ ก็นึกเอ…

หมายเหตุ และคำโปรยปกหลัง
เนื้อหาประกอบ / 7 กรกฎาคม 2532

เป็นตอนที่ 6 จาก 6 ตอนของ เพื่อความเข้าใจปัญหาโพธิรักษ์ (ฉบับย่อ-เพิ่มเติม)

หมายเหตุ: กรณีสันติอโศก หรือปัญหาโพธิรักษ์นี้มีแง่พิจารณาหลายด้าน เช่น ด้านสังคม จิตวิทยา การเมือง และ เศรษฐกิจ เป็นต้น ถ้ามีเวลาก็อาจจะได้วิเคราะห์กันต่อไป แต่การพิจารณาทุกด้านทั้งหมดนั้นจะไม่ไขว้เขว…