ขอบเขตอันคับแคบ ที่จำกัดความคิดเกี่ยวกับจริยธรรม
เนื้อหาหลัก / 1 ตุลาคม 2534

เป็นตอนที่ 31 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

ขอบเขตอันคับแคบ ที่จำกัดความคิดเกี่ยวกับจริยธรรม สาเหตุสำคัญที่ทำให้ตะวันตกมองความจริงทางจริยธรรมเพียงแค่นั้น ก็เพราะมองจริยธรรมบนพื้นฐานแห่งภูมิหลังของตน ที่จริยธรรมมาจากบัญญัติทางศาสนาแบบเทวบัญชา แล…

ก้าวสำคัญบนเส้นทางแห่งการแสวงหาจริยธรรมสากลในอเมริกา
เนื้อหาหลัก / 1 ตุลาคม 2534

เป็นตอนที่ 32 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

ก้าวสำคัญบนเส้นทางแห่งการแสวงหาจริยธรรมสากลในอเมริกา ความต้องการให้โรงเรียนสอนศีลธรรมแก่เด็กนักเรียน กับการที่เด็กนักเรียนมาจากครอบครัวซึ่งนับถือนิกายศาสนาต่างๆ ที่สอนหลักศีลธรรมไม่เหมือนกัน เป็นสภาพข…

ก้าวใหม่ที่ไปไม่พ้นร่องเก่า
เนื้อหาหลัก / 1 ตุลาคม 2534

เป็นตอนที่ 33 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

ก้าวใหม่ที่ไปไม่พ้นร่องเก่า อย่างไรก็ตาม พัฒนาการทางจริยธรรมขั้นที่ ๖ คือขั้นถือหลักจริยธรรมสากล ซึ่งเป็นขั้นสำคัญที่โกลเบอร์กเองก็ถือว่าสูงสุด เมื่อจัดวางเป็นหลักลงไว้แล้ว ก็ควรจะได้รับการเน้นย้ำ ควร…

ขยายเขตแดนแห่งความคิด จากสากลที่เป็นกลาง สู่สากลที่เป็นจริง
เนื้อหาหลัก / 1 ตุลาคม 2534

เป็นตอนที่ 34 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

ขยายเขตแดนแห่งความคิด จากสากลที่เป็นกลาง สู่สากลที่เป็นจริง ความก้าวหน้าที่ถูกต้องในการที่จะเป็นจริยธรรมสากล คือ การก้าวย้ายจากบัญญัติของสังคมไปสู่ตัวความถูกต้องดีงามแท้จริงที่พิจารณาเห็นด้วยวิจารณญาณ…

บัญญัติธรรมเพื่อจริยธรรม จริยธรรมบนฐานแห่งสัจธรรม
เนื้อหาหลัก / 1 ตุลาคม 2534

เป็นตอนที่ 35 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

บัญญัติธรรมเพื่อจริยธรรม จริยธรรมบนฐานแห่งสัจธรรม เคยกล่าวแล้วว่า ในวัฒนธรรมตะวันตกซึ่งไม่เคยรู้จักจริยธรรมตามหลักเหตุผลในกฎธรรมชาติมาก่อนนั้น เมื่อวิทยาศาสตร์เจริญขึ้นแล้ว ปฏิกิริยาต่อจริยธรรมแบบเทวบ…

จริยธรรมแห่งความเป็นจริง ในระบบความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย
เนื้อหาหลัก / 1 ตุลาคม 2534

เป็นตอนที่ 36 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

จริยธรรมแห่งความเป็นจริง ในระบบความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย ลึกลงไปอีก ในแง่สภาพความเป็นจริง ความดี-ความชั่ว ที่เป็นแกนของจริยธรรมนั้น เป็นสภาวธรรม หรือเป็นสิ่งที่มีสภาวะของมันอยู่ในระบบความสัมพันธ์แห่ง…

ระบบเงื่อนไขของมนุษย์: ตัวแทรกแซงที่ถูกลืม ในกระบวนการแห่งเหตุปัจจัย
เนื้อหาหลัก / 1 ตุลาคม 2534

เป็นตอนที่ 37 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

ระบบเงื่อนไขของมนุษย์: ตัวแทรกแซงที่ถูกลืม ในกระบวนการแห่งเหตุปัจจัย ว่าที่จริง ความโลภอยากได้ทรัพย์ มิได้มีความสัมพันธ์เชิงเหตุปัจจัยโดยตรงกับความขยันทำงานเลยด้วยซ้ำ หมายความว่า ความโลภอยากได้ทรัพย์ …

การแทรกแซงที่ไม่กลมกลืน ปัจจยาการแห่งปัญหาของชีวิตและสังคม
เนื้อหาหลัก / 1 ตุลาคม 2534

เป็นตอนที่ 38 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

การแทรกแซงที่ไม่กลมกลืน ปัจจยาการแห่งปัญหาของชีวิตและสังคม ในกรณีที่จิตใจไม่ยอมรับเงื่อนไขข้างต้น สังคมมนุษย์ก็ยังมีเงื่อนไขด้านลบ ซึ่งเป็นเรื่องของบัญญัติทางสังคมเช่นเดียวกัน เข้ามาช่วยผลักดันให้มนุษ…

จริยธรรมประสานสนิทกับสัจธรรม คือ สันติสุขที่สัมฤทธิ์แก่ชีวิตและสังคม
เนื้อหาหลัก / 1 ตุลาคม 2534

เป็นตอนที่ 39 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

จริยธรรมประสานสนิทกับสัจธรรม คือ สันติสุขที่สัมฤทธิ์แก่ชีวิตและสังคม ทางแก้ปัญหา ซึ่งจะทำให้ได้ผลดีทั้งแก่ชีวิตจิตใจของบุคคล และผลประโยชน์ของสังคม ก็คือการจับกระบวนการแห่งเหตุปัจจัยของธรรมชาติให้ได้ แ…

ถ้าจับเหตุปัจจัยในกระบวนการพัฒนาผิดพลาด การศึกษาอาจเป็นเครื่องมือก่อความพินาศ
เนื้อหาหลัก / 1 ตุลาคม 2534

เป็นตอนที่ 40 จาก 44 ตอนของ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย

ถ้าจับเหตุปัจจัยในกระบวนการพัฒนาผิดพลาด การศึกษาอาจเป็นเครื่องมือก่อความพินาศ ไม่ว่าจะทำอย่างไหนก็ตาม สองอย่างนี่แหละคือภารกิจของการศึกษา การศึกษามีหน้าที่พัฒนาคน และการพัฒนาคนในส่วนที่สำคัญยิ่ง ซึ่งเ…