การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
เนื้อหาหลัก / 26 ตุลาคม 2525

เป็นตอนที่ 1 จาก 7 ตอนของ การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานนี้ ความจริงก็เป็นเรื่องที่มีชื่อแบบสมัยใหม่ ถ้าจะจับเข้ากับหลักธรรมะ ก็ยังนึกไม่ชัดว่าคำว่า “ประสิทธิภาพ” นี่จะแปลว่าอะไรดี คำว่า ประส…

สันโดษไม่ดี ไม่สันโดษจึงดี
เนื้อหาหลัก / 26 ตุลาคม 2525

เป็นตอนที่ 2 จาก 7 ตอนของ การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

สันโดษไม่ดี ไม่สันโดษจึงดี งานของพระพุทธเจ้าอย่างแรกที่สุด ก็คือการตรัสรู้ อะไรทำให้พระองค์ได้ตรัสรู้ พระองค์ได้ทำงาน คือ มีความเพียรพยายามอย่างมีประสิทธิภาพจนประสบความสำเร็จให้ตรัสรู้ บรรลุสัมมาสัมโพ…

ความไม่สันโดษ ที่เป็นพระจริยาวัตรของพุทธเจ้า
เนื้อหาหลัก / 26 ตุลาคม 2525

เป็นตอนที่ 3 จาก 7 ตอนของ การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

ความไม่สันโดษ ที่เป็นพระจริยาวัตรของพุทธเจ้า คุณธรรมคือความไม่สันโดษนี้ ควรจะได้รับการเน้นและยกย่องในหมู่พุทธศาสนิกชนได้มาก แต่ต้องเป็นความไม่สันโดษที่ถูกต้องตามหลักพุทธศาสนา เพราะเป็นพระจริยาวัตรของพ…

ความอยากที่ดี
เนื้อหาหลัก / 26 ตุลาคม 2525

เป็นตอนที่ 4 จาก 7 ตอนของ การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

ความอยากที่ดี มีคุณธรรมข้อหนึ่งที่ถือว่าเป็นพื้นฐาน ที่จริงเป็นพื้นฐานของการที่จะก้าวหน้าในคุณธรรมทั้งหมดทีเดียว คุณธรรมข้อนี้ท่านเรียกว่า “ฉันทะ” ฉันทะตัวนี้เราฟังแล้วคุ้นหู เพราะท่านที่เป็นนักศึกษาธ…

อิทธิบาท ๔: ทางแห่งความสำเร็จ
เนื้อหาหลัก / 26 ตุลาคม 2525

เป็นตอนที่ 5 จาก 7 ตอนของ การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

อิทธิบาท ๔: ทางแห่งความสำเร็จ นอกจากการที่จะมีความไม่สันโดษ และสันโดษที่ถูกต้องแล้ว เพราะฉันทะทำให้ใจมาอยู่กับงาน สิ่งที่ทำ สิ่งที่เป็นเป้าหมาย ทำให้เกิดจิตใจฝักใฝ่อย่างที่ว่ามาเมื่อกี้ เมื่อใจฝักใฝ่ก…

ฉันทะทำให้ขยัน ตัณหาทำให้ขี้เกียจ
เนื้อหาหลัก / 26 ตุลาคม 2525

เป็นตอนที่ 6 จาก 7 ตอนของ การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

ฉันทะทำให้ขยัน ตัณหาทำให้ขี้เกียจ ทีนี้ จะขอพูดเรื่องฉันทะอย่างเดียว ฉันทะนี้เป็นเรื่องที่เราจะต้องศึกษาอีก ที่พูดมาเมื่อกี้นี้ว่า ฉันทะ แปลว่า ความชอบ ความพอใจ ความรัก หรือความมีใจรัก แต่ความจริงฉันท…

สันโดษที่ถูกต้องมีธรรมฉันทะ
เนื้อหาหลัก / 26 ตุลาคม 2525

เป็นตอนที่ 7 จาก 7 ตอนของ การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

สันโดษที่ถูกต้องมีธรรมฉันทะ ขอสรุปว่า ฉันทะที่ถูกต้องนี่ก็คือ ธรรมฉันทะที่จะไปสัมพันธ์กับความสันโดษ ทำให้เกิดความสันโดษที่ถูกต้อง แล้วก็ทำให้เกิดความไม่สันโดษที่ถูกต้องด้วย แล้วก็จะทำให้เกิดวิริยะ—ควา…