นิเทศพจน์
เนื้อหาประกอบ / 14 กุมภาพันธ์ 2548

เป็นตอนที่ 1 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

นิเทศพจน์ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ นี้ เดิมเป็นปาฐกถาธรรม ซึ่งได้แสดงในมงคลวารอายุครบ ๗๒ ปี ของ ศาสตราจารย์ ดร. ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๓๑ มูลนิธิโกมลคีมทองได้ขออนุญา…

ข้อคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
เนื้อหาหลัก / 9 มีนาคม 2531

เป็นตอนที่ 2 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ ข้อคิดเบื้องต้น เกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ วันนี้ ทางคณะผู้จัดงานได้ตั้งชื่อเรื่องปาฐกถาให้อาตมภาพว่า เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ เริ่มต้น ผู้ฟังบางท่านก็อาจจะสงสัยว่า เศรษฐศาสตร์แนวพุทธนั…

ข้อจำกัดของเศรษฐศาสตร์แห่งยุคอุตสาหกรรม
เนื้อหาหลัก / 9 มีนาคม 2531

เป็นตอนที่ 3 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

ข้อจำกัด ของ เศรษฐศาสตร์แห่งยุคอุตสาหกรรม ๑. การแยกตัวโดดเดี่ยวเป็นความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ทีนี้หันกลับมาพูดถึงเศรษฐศาสตร์ในปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์ในปัจจุบันนี้ ได้แยกเอากิจกรรมทางเศรษฐกิจออกมาพิจารณาต่าง…

ลักษณะสำคัญของเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
เนื้อหาหลัก / 9 มีนาคม 2531

เป็นตอนที่ 4 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

ลักษณะสำคัญ ของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ ๑. เศรษฐศาสตร์มัชฌิมา: การได้คุณภาพชีวิต เมื่อมีความเข้าใจในเรื่องธรรมชาติของมนุษย์แล้ว ก็จะขอชี้ถึงลักษณะสำคัญของเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ กล่าวคือ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธนี้มี…

สรุป
เนื้อหาหลัก / 9 มีนาคม 2531

เป็นตอนที่ 5 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

สรุป ได้พูดเลยเวลาไปแล้ว แต่ยังมีข้อสำคัญๆ ที่ค้างอยู่อีก สิ่งหนึ่งที่ขอย้ำไว้ ก็คือ ควรจะชัดเจนว่า ผลได้ที่ต้องการในทางเศรษฐศาสตร์นี้ ไม่ใช่จุดหมายในตัวของมันเอง แต่เป็น means คือมรรคา ส่วน end คือจุ…

บทพิเศษ – หลักการทั่วไปบางประการของเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
เนื้อหาหลัก / 9 มีนาคม 2531

เป็นตอนที่ 6 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

บทพิเศษ หลักการทั่วไปบางประการ ของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (เศรษฐศาสตร์มัชฌิมา) ๑. การบริโภคด้วยปัญญา การบริโภคเป็นจุดเริ่มต้น (โดยเหตุผล) ของกระบวนการเศรษฐกิจทั้งหมด เพราะการผลิตก็ดี การแลกเปลี่ยนและการแจ…