๑) บางส่วนของปฏิจจสมุปบาท ที่ควรสังเกตเป็นพิเศษ
เนื้อหาหลัก / 1 เมษายน 2548

เป็นตอนที่ 1 จาก 7 ตอนของ เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท และกรรม

เหตุปัจจัย ในปฏิจจสมุปบาท และกรรม   ๑) บางส่วนของปฏิจจสมุปบาท ที่ควรสังเกตเป็นพิเศษ ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องของกฎธรรมชาติ จึงเป็นเรื่องใหญ่ มีความกว้างขวางลึกซึ้ง และมีแง่ด้านต่างๆ มากมาย ละเอียดซ…

๒) ความหมายของ เหตุ และ ปัจจัย
เนื้อหาหลัก / 1 เมษายน 2548

เป็นตอนที่ 2 จาก 7 ตอนของ เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท และกรรม

๒) ความหมายของ เหตุ และ ปัจจัย เบื้องแรกควรเข้าใจความหมายของถ้อยคำเป็นพื้นไว้ก่อน ในที่ทั่วไป หรือเมื่อใช้ตามปกติ คำว่า “เหตุ” กับ “ปัจจัย” ถือว่าใช้แทนกันได้ แต่ในความหมายที่เคร่งครัด ท่านใช้ “ปัจจัย…

๓) ผลหลากหลาย จากปัจจัยอเนก
เนื้อหาหลัก / 1 เมษายน 2548

เป็นตอนที่ 3 จาก 7 ตอนของ เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท และกรรม

๓) ผลหลากหลาย จากปัจจัยอเนก ตามหลักแห่งความเป็นไปในระบบสัมพันธ์นี้ ยังมีข้อควรทราบแฝงอยู่อีก โดยเฉพาะ • ขณะที่เราเพ่งดูเฉพาะผลอย่างหนึ่ง ว่าเกิดจากปัจจัยหลากหลายพรั่งพร้อมนั้น ต้องทราบด้วยว่า ที่แท้นั…

๔) วิธีปฏิบัติต่อกรรม
เนื้อหาหลัก / 1 เมษายน 2548

เป็นตอนที่ 4 จาก 7 ตอนของ เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท และกรรม

๔) วิธีปฏิบัติต่อกรรม เมื่อพูดถึงหลักกรรม ปัญหาที่พูดกันมากที่สุดก็คือ ทำดีได้ดี จริงหรือไม่? ทำไมฉันทำดีแล้ว ไม่เห็นได้ดี? ถ้าเข้าใจปฏิจจสมุปบาท ในเรื่องเหตุปัจจัยอย่างที่พูดไปแล้ว ปัญหาอย่างนั้นจะหม…

๕) ทำกรรมเก่าให้เกิดประโยชน์
เนื้อหาหลัก / 1 เมษายน 2548

เป็นตอนที่ 5 จาก 7 ตอนของ เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท และกรรม

๕) ทำกรรมเก่าให้เกิดประโยชน์ คนไทยสมัยนี้ได้ยินคำว่า “กรรม” มักจะนึกไปในแง่ว่ากรรมจะตามมาให้เคราะห์ให้โทษอย่างไร พูดถึงกรรมก็จะนึกถึงอะไรอย่างหนึ่งที่คอยตามจะลงโทษ หรือทำให้เราเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ โด…

๖) อยู่เพื่อพัฒนากรรม ไม่ใช่อยู่เพื่อใช้กรรม
เนื้อหาหลัก / 1 เมษายน 2548

เป็นตอนที่ 6 จาก 7 ตอนของ เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท และกรรม

๖) อยู่เพื่อพัฒนากรรม ไม่ใช่อยู่เพื่อใช้กรรม ที่พูดมานี้ เท่ากับบอกให้รู้ว่า เราจะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องต่อกรรมที่แยกเป็น ๓ ส่วน คือ กรรมเก่า-กรรมใหม่-กรรมข้างหน้า ขอสรุปวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อกรรมทั้…

๗) กรรมระดับบุคคล-กรรมระดับสังคม
เนื้อหาหลัก / 1 เมษายน 2548

เป็นตอนที่ 7 จาก 7 ตอนของ เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท และกรรม

๗) กรรมระดับบุคคล-กรรมระดับสังคม หลักกรรมอีกแง่หนึ่งที่สำคัญและน่าสนใจมาก คือ กรรมที่แยกได้เป็น ๒ ระดับ ได้แก่ ๑. กรรมระดับปัจเจกบุคคล ตามนัยพุทธพจน์เช่นว่า “กมฺมํ สตฺเต วิภชติ ยทิทํ หีนปฺปณีตตาย” เป็…