Search results for: สมาธิ

— การจัดการกับตัณหา
เนื้อหาหลัก / 14 กันยายน 2525

เป็นตอนที่ 17 จาก 35 ตอนของ ปรัชญาการศึกษาไทย

การจัดการกับตัณหา เรื่องที่กล่าวมาในตอนนี้ มีความสำคัญควรสังเกตอีกอย่างหนึ่ง คือ เป็นตอนที่ใช้ตอบปัญหาเรื่องแรงจูงใจหรือแรงขับในการทำการต่างๆ จะเห็นว่า ผู้ที่ศึกษาหรือคุ้นแต่กับจิตวิทยาการศึกษาของฝ่าย…

สภาพสังคมอเมริกัน
เนื้อหาหลัก / 10 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 3 จาก 20 ตอนของ มองอเมริกา มาแก้ปัญหาไทย

สภาพสังคมอเมริกัน ว่าถึงสภาพของสังคมอเมริกันทั่วๆ ไป เราก็รู้ๆ กันดีอยู่แล้ว เพราะว่าเราเห็นเขาเจริญ เราจึงเอามาเป็นแบบอย่าง ความเจริญของสังคมอเมริกันคือความพรั่งพร้อมทางวัตถุ ความสะดวกสบายต่างๆ อันนี…

ศาสนาตะวันออกเข้าอเมริกา
เนื้อหาหลัก / 10 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 4 จาก 20 ตอนของ มองอเมริกา มาแก้ปัญหาไทย

ศาสนาตะวันออกเข้าอเมริกา อาตมาจะเล่าสักกรณีหนึ่งเป็นตัวอย่างให้เห็นว่า ความสนใจในศาสนาตะวันออก หรือเรื่องทางจิตใจที่เข้าไปในสังคมอเมริกานั้นเป็นอย่างไร ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด มีอาจารย์ผู้หนึ่งคือ โปร…

การตามฝรั่งในทางที่ผิด
เนื้อหาหลัก / 10 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 16 จาก 20 ตอนของ มองอเมริกา มาแก้ปัญหาไทย

การตามฝรั่งในทางที่ผิด ขอพูดต่อไปถึงการตามอีกอย่างซึ่งเป็นเรื่องสำคัญมาก คือการตามไปในทางที่ฝรั่งก็ผิดอยู่แล้ว อันนี้เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในบรรดาการตามทั้งหลาย แต่เราไม่มีเวลาเพียงพอที่จะพูดเรื่องนี้ไ…

คุณสมบัติของผู้มีการศึกษา
เนื้อหาหลัก / 10 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 10 จาก 20 ตอนของ มองอเมริกา มาแก้ปัญหาไทย

คุณสมบัติของผู้มีการศึกษา ต่อไปสุดท้าย วิธีหนึ่งที่จะวัดผลการศึกษา ก็ดูที่คนซึ่งได้รับการศึกษา ดังนั้น อาตมภาพจะขอพูดเป็นเรื่องสุดท้าย คือเรื่องคุณสมบัติของคนมีการศึกษา อันนี้ถือว่าเป็นเรื่องสำคัญ เพร…

— ก. ทางสายกลาง หรือมัชฌิมาปฏิปทา
เนื้อหาหลัก / 6 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 3 จาก 9 ตอนของ วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา

ก. ทางสายกลาง หรือมัชฌิมาปฏิปทา ที่เรียกว่าทางสายกลาง หรือมัชฌิมาปฏิปทา ก็เพราะเป็นทางดำเนินชีวิตหรือข้อปฏิบัติที่เป็นกลางๆ ถูกต้อง พอเหมาะพอดีที่จะให้บรรลุผลสำเร็จถึงจุดหมาย มิใช่เป็นการปฏิบัติหรือกา…

— ข. อริยสัจจ์ ๔
เนื้อหาหลัก / 6 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 4 จาก 9 ตอนของ วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา

ข. อริยสัจจ์ ๔ อริยสัจจ์ ๔ แปลว่า ความจริงอันประเสริฐหรือความจริงของอริยะ หรือสัจธรรมที่รู้แล้วจะทำให้กลายเป็นอริยะหรืออารยชน ๔ ประการ อริยะ หรืออารยชน คือบุคคลที่ห่างไกลจากกิเลส ห่างไกลจากอวิชชา เป็น…

พุทธธรรมกับการพัฒนาชีวิตบุคคล

เป็นตอนที่ 8 จาก 13 ตอนของ ค่านิยมแบบพุทธ

พุทธธรรมกับการพัฒนาชีวิตบุคคล ขอเจริญพรท่านอาจารย์และอุบาสกอุบาสิกา สาธุชนทุกท่านทุกคน เมื่อกี้นี้ได้มีพิธีถวายสักการะ ซึ่งอาตมาได้กล่าวว่า ถือเป็นการเริ่มต้นที่ดีงาม และท่านปราโมทย์ก็ได้ปรารภเรื่องนี…

ปลาเป็นว่ายทวนกระแสน้ำ
เนื้อหาหลัก / 1 กรกฎาคม 2525

เป็นตอนที่ 7 จาก 10 ตอนของ พุทธศาสนากับชีวิตและสังคม

ปลาเป็นว่ายทวนกระแสน้ำ มีคำพูดในภาษาไทยจะเอามาจากคติของเมืองไหนก็ไม่ทราบ ทำนองว่า ปลาที่มันปล่อยตัวลอยไปตามกระแสน้ำเป็นปลาตาย ส่วนปลาที่มันว่ายทวนกระแสน้ำขึ้นไปเป็นปลาเป็น คตินี้เอามาใช้กับโลกียธรรมแล…

ชื่อที่สองของพระพุทธศาสนา คือ พรหมจรรย์
เนื้อหาหลัก / 24 มกราคม 2524

เป็นตอนที่ 7 จาก 11 ตอนของ หลักทั่วไปของพุทธศาสตร์

ชื่อที่สองของพระพุทธศาสนา คือ พรหมจรรย์ ชื่อเรียกที่สองของพระพุทธศาสนา คือ คำว่า พรหมจรรย์ เมื่อได้ยินคำว่า ‘พรหมจรรย์’ ก็อาจจะเกิดความรู้สึกแปลกใจ เพราะความหมายของคำว่าพรหมจรรย์ ในสมัยนี้มักจะมองกันแ…