การศึกษา[ที่สังคม]จัดตั้ง ต้องไม่บดบังการศึกษาที่แท้ของชีวิต
เนื้อหาหลัก / 1 สิงหาคม 2544

เป็นตอนที่ 9 จาก 11 ตอนของ ชีวิตที่เป็นอยู่ดี: ด้วยมีการศึกษาทั้ง ๓ ที่ทำให้พัฒนาครบทั้ง ๔

การศึกษา[ที่สังคม]จัดตั้ง ต้องไม่บดบังการศึกษาที่แท้ของชีวิต การศึกษาที่จัดทำกันอย่างเป็นงานเป็นการ เป็นกิจการของรัฐของสังคม ก็คือการยอมรับความสำคัญและดำเนินการในขั้นของ ปัจจัยข้อที่ ๑ คือ ความมีกัลยา…

ชีวิตมี ๓ ด้าน การฝึกศึกษาก็ต้องประสานกัน ๓ ส่วน พัฒนาคนแบบองค์รวม จึงเป็นเรื่องธรรมดาของการศึกษา
เนื้อหาหลัก / 1 สิงหาคม 2544

เป็นตอนที่ 4 จาก 11 ตอนของ ชีวิตที่เป็นอยู่ดี: ด้วยมีการศึกษาทั้ง ๓ ที่ทำให้พัฒนาครบทั้ง ๔

ชีวิตมี ๓ ด้าน การฝึกศึกษาก็ต้องประสานกัน ๓ ส่วน พัฒนาคนแบบองค์รวม จึงเป็นเรื่องธรรมดาของการศึกษา ชีวิต และการดำเนินชีวิตของมนุษย์นั้น แยกได้เป็น ๓ ด้าน คือ ๑. ด้านสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม การดำเนินชีวิ…

ชีวิตทั้ง ๓ ด้าน การศึกษาทั้ง ๓ ขั้น ประสานพร้อมไปด้วยกัน
เนื้อหาหลัก / 1 สิงหาคม 2544

เป็นตอนที่ 7 จาก 11 ตอนของ ชีวิตที่เป็นอยู่ดี: ด้วยมีการศึกษาทั้ง ๓ ที่ทำให้พัฒนาครบทั้ง ๔

ชีวิตทั้ง ๓ ด้าน การศึกษาทั้ง ๓ ขั้น ประสานพร้อมไปด้วยกัน ๒. อินทรียสังวร แปลตามแบบว่า การสำรวมอินทรีย์ หมายถึง การใช้อินทรีย์ เช่น ตาดู หูฟัง อย่างมีสติ มิให้ถูกความโลภ ความโกรธ ความแค้นเคือง ความหลง…

มนุษย์เป็นสัตว์ที่ประเสริฐด้วยการศึกษา
เนื้อหาหลัก / 1 สิงหาคม 2544

เป็นตอนที่ 1 จาก 11 ตอนของ ชีวิตที่เป็นอยู่ดี: ด้วยมีการศึกษาทั้ง ๓ ที่ทำให้พัฒนาครบทั้ง ๔

ชีวิตที่เป็นอยู่ดี ด้วยมีการศึกษาทั้ง ๓ ที่ทำให้พัฒนาครบ ๔ มนุษย์เป็นสัตว์ที่ประเสริฐด้วยการศึกษา ธรรมชาติพิเศษที่เป็นส่วนเฉพาะของมนุษย์ คือ เป็น สัตว์ที่ฝึกได้ จะพูดว่า เป็นสัตว์ที่พัฒนาได้ เป็นสัตว์…

สังคมจะดี ประชาธิปไตยจะมีคุณค่า หนีไม่พ้นว่า ทุกคนต้องถือธรรมเป็นใหญ่
เนื้อหาหลัก / 19 กรกฎาคม 2544

เป็นตอนที่ 9 จาก 24 ตอนของ ปัญหาภิกษุณี: บททดสอบสังคมไทย

สังคมจะดี ประชาธิปไตยจะมีคุณค่า หนีไม่พ้นว่า ทุกคนต้องถือธรรมเป็นใหญ่ อย่างเรื่องของภิกษุณีนี้ ไม่ว่าจะได้แค่ไหนก็ตาม แต่สิ่งหนึ่งที่ปรากฏออกมา ซึ่งควรยกมาพิจารณาก็คือ การที่ได้ถกเถียงกันมานั้น ทำเพีย…

ตั้งหลักไว้: ให้ผู้หญิงก็ได้ และธรรมวินัยก็ไม่เสีย
เนื้อหาหลัก / 19 กรกฎาคม 2544

เป็นตอนที่ 4 จาก 24 ตอนของ ปัญหาภิกษุณี: บททดสอบสังคมไทย

ตั้งหลักไว้: ให้ผู้หญิงก็ได้ และธรรมวินัยก็ไม่เสีย ข้อที่ ๒ ความปรารถนาดีและความต้องการของเรานี้จะได้แค่ไหน ก็ต้องขึ้นต่อหลักการ เราต้องดูว่าหลักการเป็นอย่างไร พระพุทธเจ้าทรงมีพุทธบัญญัติไว้อย่างไรในเ…

ผู้หญิงมีสิทธิบวชเป็นภิกษุณี แต่คนที่มีสิทธิบวชให้ไม่มี
เนื้อหาหลัก / 19 กรกฎาคม 2544

เป็นตอนที่ 5 จาก 24 ตอนของ ปัญหาภิกษุณี: บททดสอบสังคมไทย

ผู้หญิงมีสิทธิบวชเป็นภิกษุณี แต่คนที่มีสิทธิบวชให้ไม่มี ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีการถกเถียงกันคราวนี้ เพียงฟังและพิจารณาเล็กน้อย ก็จะเห็นได้ว่า มีการแสดงความคิดเห็นโดยไม่รู้เข้าใจเรื่องราวกันมากทีเด…

– ๑ – จากอุบาสก-อุบาสิกา มาถึงปัญหาภิกษุณี
เนื้อหาหลัก / 19 กรกฎาคม 2544

เป็นตอนที่ 1 จาก 24 ตอนของ ปัญหาภิกษุณี: บททดสอบสังคมไทย

– ๑ – จากอุบาสก-อุบาสิกา มาถึงปัญหาภิกษุณี เข้าพรรษา คือถึงฤดูกาลแห่งการศึกษา วันเข้าพรรษานี้ ทราบกันดีว่าเป็นเวลาที่พระสงฆ์อยู่ประจำที่ โดยเฉพาะเมื่อพระเก่าอยู่กับวัด ก็เป็นโอกาสให้มีผู้เ…

การแสดงความคิดเห็น ต้องคู่มากับการแสวงหาความรู้
เนื้อหาหลัก / 19 กรกฎาคม 2544

เป็นตอนที่ 8 จาก 24 ตอนของ ปัญหาภิกษุณี: บททดสอบสังคมไทย

การแสดงความคิดเห็น ต้องคู่มากับการแสวงหาความรู้ การศึกษาปัจจุบันเดี๋ยวนี้พูดกันบ่อยว่า เด็กไทยไม่ค่อยชอบแสดงความคิดเห็น จะต้องสนับสนุนให้เด็กแสดงความคิดเห็น อย่าลืมว่า การแสดงความคิดเห็นนั้นต้องตั้งอย…

ถ้าชาวพุทธมีคุณสมบัติของอุบาสกอุบาสิกา สังคมไทยจะพ้นปัญหาแน่นอน
เนื้อหาหลัก / 19 กรกฎาคม 2544

เป็นตอนที่ 2 จาก 24 ตอนของ ปัญหาภิกษุณี: บททดสอบสังคมไทย

ถ้าชาวพุทธมีคุณสมบัติของอุบาสกอุบาสิกา สังคมไทยจะพ้นปัญหาแน่นอน ชาวพุทธเรานั้น เมื่อปฏิบัติอย่างนี้ ก็เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินตามหลักที่เรียกว่า องค์คุณของอุบาสกอุบาสิกา ซึ่งตามมาตรฐานทั่วไป มีอยู่ ๕…