ลัทธิอาณานิคมของประเทศตะวันตก เผยแพร่ศาสนา พร้อมกับหาเมืองขึ้น ยุคอาณานิคมสมัยใหม่ (modern colonialism) เริ่มต้นเมื่อใกล้จะขึ้นสู่คริสต์ศตวรรษที่ 16 การล่าอาณานิคมยุคนี้ เป็นการแผ่อำนาจของประเทศตะวันต…
ทัพมุสลิมทะลวงตะวันตก ทะลุตะวันออก หันไปดูทางด้านอินเดีย ได้กล่าวแล้วว่าทัพอาหรับบุกถึงลุ่มน้ำสินธุตั้งแต่ ค.ศ.711 แม้จะยังบุกลึกกว่านั้นเข้าไปไม่ได้ แต่ก็มีการเดินทางค้าขายติดต่อกัน และการสังสรรค์ทาง…
ภาค ๒ ภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์ ๑. ภูมิหลังศาสนา กับอารยธรรมตะวันตก ในซีกโลกตะวันตก ศาสนาเกิดขึ้นมา พร้อมกับความรุนแรง ศาสนาของตะวันตก เริ่มต้นและดำเนินมาด้วยความรุนแรง เมื่อศาสนาคริสต…
ปฏิกริยาของสังคมตะวันตกต่ออำนาจครอบงำของศาสนาคริสต์ ผลกระทบจากการปฏิรูปศาสนาคริสต์ต่อสังคมตะวันตก ตามประวัติแห่งอารยธรรมตะวันตกนี้ จะเห็นว่า มนุษย์ชาวตะวันตกในอดีต มีความรู้สึกเหมือนว่าตนถูกกักขังอยู่…
ท่าทีอหิงสาที่สืบมาในศาสนาของอินเดีย พึงสังเกตว่า ต่อมาตอนหลัง ฮินดูก็มาถือหลักอหิงสา ทั้งที่ ว่าตามความจริง ฮินดูนั้นมาจากศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพราหมณ์เดิมนั้นคงจะเป็นอหิงสาได้ยาก เพราะเป็นศาสนาแห่งการบู…
ถึงจะผ่อนอิทธิพลครอบงำทางปัญญา ฝรั่งยังต้องดิ้นหนีภัยอำนาจการเมืองของคริสต์ศาสนา หันมากล่าวถึงดินแดนแห่งโลกใหม่ คืออเมริกา ซึ่งก็คือประเทศของคนที่อพยพมาจากทวีปยุโรป และก็เป็นที่รู้กันดีว่าสาเหตุสำคัญอ…
ภูมิหลังที่ต่างกันแห่ง ๒ วิธี ในการดำเนินวิถีแห่งสันติภาพ ในระดับชนชาติหรือระดับภูมิภาค พูดได้คร่าวๆ ว่ามีมนุษย์อยู่ ๒ พวก ที่มีประสบการณ์แห่งความปรองดองทางศาสนา หรืออย่างน้อยก็อยู่ในขั้นของ tolerance…
ตัวอย่างที่แสดงท่าทีต่อสัจธรรมด้วยปัญญา และท่าทีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยเมตตา เรื่องจากสีหสูตรต่อไปนี้ แสดงถึงท่าทีของพุทธศาสนาต่อลัทธิศาสนาอื่นได้อย่างชัดเจน อันจะเห็นได้จากพระจริยาวัตรของพระพุทธเจ้าเอง แ…
ท่าทีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยเมตตา และท่าทีต่อสัจธรรมด้วยปัญญา เรื่องท่าทีต่อกันระหว่างมนุษย์ รวมทั้งท่าทีต่อกันระหว่างศาสนา ก็เป็นเรื่องใหญ่ ต้องดูจุดรวมใหญ่ที่ว่า เราจะอยู่กันอย่างไรด้วยท่าทีที่ถูกต้อง ท…
ภาวะไม่มั่นคงของหลักการแห่งประชาธิปไตย บ่อนทำลายอารยธรรมปัจจุบันแม้แต่ในประเทศผู้นำ หลักการของประชาธิปไตย ๓ ข้อนี้ คือ เสรีภาพ ความเสมอภาค และภราดรภาพ ตามความหมายที่แท้นั้น กลมกลืนประสานเป็นอันเดียวกั…