การแยกแยะปัจจัยหรือยักย้ายเงื่อนไข
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 30 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

การแยกแยะปัจจัยหรือยักย้ายเงื่อนไข พระพรหมคุณาภรณ์ นั่นเป็นความสามารถพิเศษ ที่ไม่ใช่ทุกคนที่มีจิตใจสว่างจะมีได้ ไม่ใช่ทุกคนที่เป็นอิสระจากกิเลสจะทำในสิ่งนี้ได้ แต่คำสอนนี้ก็มีความสำคัญมาก ข้อแรก สำหรั…

แนะนำหนังสืออ่านประกอบ
เนื้อหาประกอบ / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 37 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

แนะนำหนังสืออ่านประกอบ ๑. เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics) ของ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ปาฐกถาธรรมในมงคลวารอายุ ครบ ๗๒ ปี ศ.ดร. ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ณ หอประชุมเล็ก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กทม. …

ประเทศผู้ผลิตกับประเทศผู้บริโภค
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 10 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

ประเทศผู้ผลิตกับประเทศผู้บริโภค พระพรหมคุณาภรณ์ อย่างที่บอกมาแล้วว่า อาตมาเองก็ไม่ได้รู้เรื่องธุรกิจมากนัก แต่ก็ได้ให้ความสนใจบ้าง คุณอาจจะเห็นได้ว่า ในโลกแห่งการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกธุรกิจวั…

กระบวนการปฏิจจสมุปบาทเกิดตลอดเวลา
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 35 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

กระบวนการปฏิจจสมุปบาทเกิดตลอดเวลา พระพรหมคุณาภรณ์ คนที่พูดถึงกระบวนการสามชาติ จะอ้างคัมภีร์วิสุทธิมรรค คัมภีร์ที่รจนาโดยพระพุทธโฆษาจารย์ แต่ถ้าเราไปไกลกว่านั้น ถึงอีกคัมภีร์หนึ่งที่อธิบายพระไตรปิฎกโดย…

บันทึกผู้แปล
เนื้อหาประกอบ / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 39 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

บันทึกผู้แปล เนื้อหาทั้งหมดในหนังสือ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ เล่มนี้ มาจากบทสนทนาระหว่าง พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) กับนายลอเรนส์ แวน เดน มิวเซนเบิร์ก (Laurens V…

การแข่งขันในทางที่ถูก
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 20 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

การแข่งขันในทางที่ถูก พระพรหมคุณาภรณ์ อาตมาคิดว่า การแข่งขันมีอยู่แล้ว อย่างที่อาตมาพูดมาแล้ว เราไม่สามารถคาดหวังให้คนจำนวนมากในหมู่มนุษยชาติเป็นเหมือนกันหมด เราจึงต้องยอมรับความจริงในเรื่องการแข่งขัน…

การศึกษาควรสอนให้มนุษย์ พัฒนาความสามารถในการมีความสุข
เนื้อหาหลัก / 9 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 11 จาก 40 ตอนของ พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ: การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ

การศึกษาควรสอนให้มนุษย์ พัฒนาความสามารถในการมีความสุข เราอาจพูดได้ว่า เราสามารถแก้ปัญหาสังคมด้วยการศึกษา การศึกษาคือการพัฒนาคน แต่การศึกษาชนิดใดที่เป็นที่ต้องการในที่นี้ เพราะการศึกษาในปัจจุบันนี้ อาจ…

รัฐศาสตร์เพื่อชาติ vs รัฐศาสตร์เพื่อโลก
ธรรมนิพนธ์ , หนังสือ / 2 มิถุนายน 2547

…ตอนแรก เรามองเห็นสถานที่ที่สะอาด มีต้นไม้ มีธรรมชาติต่างๆ ที่สดชื่นสวยงาม น่าดูน่าชม ก็เป็นทัศนีย์ แต่จะให้ผลจริงๆ ที่ลึกซึ้งลงไป ก็ต้องเข้าไปถึงจิตใจ ให้เกิดความรู้สึกรื่นรมย์ คือ เป็นรมณีย์ อ…

ภาค ๑ วิสาขทัศน์ เพื่อวัดและพุทธบริษัท
เนื้อหาหลัก / 2 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 2 จาก 4 ตอนของ รัฐศาสตร์เพื่อชาติ vs รัฐศาสตร์เพื่อโลก

ภาค ๑ วิสาขทัศน์ เพื่อวัดและพุทธบริษัท ชาวพุทธที่ดีแท้ ไม่คิดดีอยู่แค่ตัว แต่ต้องเดินหน้าสามัคคี หนุนการทำดีไปด้วยกัน การมาในที่นี้ ถ้าใช้คำทางพระศาสนา ก็เรียกว่าเป็นการให้ทั้งกายสามัคคีและจิตสามัคคี …

ภาค ๒ วิสาขทัศน์ เพื่อรัฐและเพื่อโลก
เนื้อหาหลัก / 2 มิถุนายน 2547

เป็นตอนที่ 3 จาก 4 ตอนของ รัฐศาสตร์เพื่อชาติ vs รัฐศาสตร์เพื่อโลก

ภาค ๒ วิสาขทัศน์ เพื่อรัฐและเพื่อโลก ความสำเร็จทั้งหลาย จะได้มาโดยง่ายก็หาไม่ ทีนี้ เรามานึกดูถึงความสำเร็จของคนทั้งหลายในโลก เป็นธรรมดาว่า ความสำเร็จในการสร้างสรรค์ชีวิต สร้างสรรค์สังคม และทำสิ่งดีงา…