ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)
เนื้อหาหลัก / 14 ตุลาคม 2564

เป็นตอนที่ 1 จาก 20 ตอนของ ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)

ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช) ทางศิริราชนิมนต์ให้เขียนเรื่องตามหัวข้อที่ตั้งไว้ข้างบนนั้น เริ่มต้นด้วย “เหลียวหลัง” ซึ่งก็คือให้เล่าเรื่องเก่าในอดีต แต่อาตมาเวลานี้มีความจำเล…

สังคมไทย ใกล้กึ่งพุทธกาล หันหลังให้วัด
เนื้อหาหลัก / 14 ตุลาคม 2564

เป็นตอนที่ 2 จาก 20 ตอนของ ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)

สังคมไทย ใกล้กึ่งพุทธกาล หันหลังให้วัด มองดูสังคมไทยในเวลาที่เรียกว่าใกล้กึ่งพุทธกาลนั้น ได้เห็นความแตกต่างห่างไกลกันอย่างชัดเจน ระหว่างเมืองกรุง กับบ้านนอก (คือนอกกรุงเทพฯ) คนทั้งสังคมไทยฝันใฝ่ปรารถน…

ถึงกึ่งพุทธกาล ในอเมริกา พระพุทธศาสนา โผล่ขึ้นมากับคนรุ่นใหม่
เนื้อหาหลัก / 14 ตุลาคม 2564

เป็นตอนที่ 3 จาก 20 ตอนของ ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)

ถึงกึ่งพุทธกาล ในอเมริกา พระพุทธศาสนา โผล่ขึ้นมากับคนรุ่นใหม่ หันไปดูเมืองฝรั่ง ที่ว่าเป็นอารยประเทศ เวลานั้น เป็นยุคสิ้นสงครามโลกครั้งที่ ๒ ใหม่ๆ อเมริกาเป็นประเทศผู้ชนะสงครามที่เสียหายน้อยที่สุด ไม่…

ตั้งแต่ฮิปปี้โผล่ออกมา อเมริกาวุ่นวายไปนาน
เนื้อหาหลัก / 14 ตุลาคม 2564

เป็นตอนที่ 4 จาก 20 ตอนของ ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)

ตั้งแต่ฮิปปี้โผล่ออกมา อเมริกาวุ่นวายไปนาน ระหว่างนั้น ปฏิกิริยาของคนรุ่นใหม่ ในการปฏิเสธสังคมอเมริกัน สลัดทิ้งวิถีชีวิตแบบวัตถุนิยม ก็แพร่หลายขยายตัว มีการแสดงออกชัดเจนมากขึ้น เวลาผ่านไป ๑๐ ปี หลังเก…

เรื่องของโลกนี้ ที่แม้ไม่ต้องสนใจ แต่ควรรู้ไว้
เนื้อหาหลัก / 14 ตุลาคม 2564

เป็นตอนที่ 5 จาก 20 ตอนของ ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)

เรื่องของโลกนี้ ที่แม้ไม่ต้องสนใจ แต่ควรรู้ไว้ ผ่านทศวรรษ 1970s มาแล้ว พลังของวัฒนธรรมสวนกระแส (counterculture) ก็เบาบางจางลง วัฒนธรรมบริโภคนิยมที่ยืนตัวเป็นกระแสหลัก ก็นำสังคมอเมริกันก้าวต่อมา และไม่…

บริโภคนิยมคายพิษภัยออกมา ไม่ช้าก็ชัดว่า เป็นการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน
เนื้อหาหลัก / 14 ตุลาคม 2564

เป็นตอนที่ 6 จาก 20 ตอนของ ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)

บริโภคนิยมคายพิษภัยออกมา ไม่ช้าก็ชัดว่า เป็นการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน อเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ รุ่งเรืองเฟื่องฟูยิ่งนักดังว่าแล้ว เวลาผ่านมาราว ๑ ทศวรรษ อาจารย์เศรษฐศาสตร์ที่ฮาร์วาร์ดแต่งหนังสือขึ้น…

ขึ้นสหัสวรรษใหม่ คนเจอโรคระบาดใหม่ รับรองโดยองค์การอนามัยโลก
เนื้อหาหลัก / 14 ตุลาคม 2564

เป็นตอนที่ 7 จาก 20 ตอนของ ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)

ขึ้นสหัสวรรษใหม่ คนเจอโรคระบาดใหม่ รับรองโดยองค์การอนามัยโลก สภาพปัจจุบันของโลกมนุษย์ในยุคบริโภคนิยมนี้ ก็คือ คนพากันตกลงไปจมอยู่ในภาวะทุพโภชนาการ (malnutrition) กันทั่วไปในโลก คนในประเทศพัฒนาแล้ว ที่…

บริโภคนิยมว่า กินให้เต็มที่ จะมีสุขเหลือล้น แต่ผลโชว์ว่า คนก็ฉุ โลกก็เน่า
เนื้อหาหลัก / 14 ตุลาคม 2564

เป็นตอนที่ 8 จาก 20 ตอนของ ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)

บริโภคนิยมว่า กินให้เต็มที่ จะมีสุขเหลือล้น แต่ผลโชว์ว่า คนก็ฉุ โลกก็เน่า ลงท้าย คนอ้วน และโรคอ้วน ก็เหมือนจะเป็นผลรวมปลายทางที่สะท้อนปัญหาของบริโภคนิยม อย่างที่คนจะพูดได้ว่า ก็บริโภคกันนักจนอ้วนกันไป…

ฮิปปี้เงียบหาย กระแสนิยมสมาธิขยายยืนยาวต่อมา
เนื้อหาหลัก / 14 ตุลาคม 2564

เป็นตอนที่ 9 จาก 20 ตอนของ ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)

ฮิปปี้เงียบหาย กระแสนิยมสมาธิขยายยืนยาวต่อมา ท่ามกลางสังคมบริโภคนิยมนี้ ถึงแม้ขบวนการฮิปปี้และขบวนการสืบเนื่องทั้งหลายจะได้สลายหายไปแล้วบ้าง จืดจางเลือนรางไปบ้าง ก็ไม่ได้หายหรือจางไปเปล่า แต่ได้เป็นอิ…

กระแสถึงกัน แต่สังคมห่างกัน
เนื้อหาหลัก / 14 ตุลาคม 2564

เป็นตอนที่ 10 จาก 20 ตอนของ ทันโลก ถึงธรรม (เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาพุทธธรรมศิริราช)

กระแสถึงกัน แต่สังคมห่างกัน ย้อนหลังไปดูเมืองไทยในช่วงใกล้ พ.ศ.๒๕๐๐ ที่ว่าคนสมัยใหม่หันหลังให้วัด มองว่าพระเทศน์มีแต่นิทาน นรกสวรรค์ ทำบุญนิดหน่อยได้อานิสงส์ไปเกิดในสวรรค์มีนางฟ้าเป็นบริวารเป็นโกฏิๆ แ…