แบบอย่างแห่งการให้เสรีภาพทางศาสนาระดับรัฐ
เนื้อหาหลัก / 17 ธันวาคม 2540

เป็นตอนที่ 11 จาก 58 ตอนของ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์

แบบอย่างแห่งการให้เสรีภาพทางศาสนาระดับรัฐ พุทธศาสนาได้ใช้หลักการนี้ตลอดมา ดังจะเห็นว่า ในยุคพระเจ้าอโศก ก็ปรากฏท่าทีแบบพุทธในเชิงปฏิบัติการที่ชัดเจน เพราะออกมาสู่ระดับของรัฐ ว่าเมื่อผู้ปกครองรัฐเป็นชา…

ปัญหาใหญ่ของมนุษยชาติ ที่ท้าทายต่อหลักการของประชาธิปไตย
เนื้อหาหลัก / 17 ธันวาคม 2540

เป็นตอนที่ 12 จาก 58 ตอนของ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์

ปัญหาใหญ่ของมนุษยชาติ ที่ท้าทายต่อหลักการของประชาธิปไตย เรื่องพระเจ้าอโศกมหาราชเป็นหลักฐานแสดงให้เห็นว่า การอยู่ร่วมกันด้วยดีระหว่างศาสนามีตัวอย่างอยู่ในอดีต เป็นเวลาตั้ง ๒,๐๐๐ กว่าปีแล้ว พระเจ้าอโศกน…

ภาวะไม่มั่นคงของหลักการแห่งประชาธิปไตย บ่อนทำลายอารยธรรมปัจจุบันแม้แต่ในประเทศผู้นำ
เนื้อหาหลัก / 17 ธันวาคม 2540

เป็นตอนที่ 13 จาก 58 ตอนของ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์

ภาวะไม่มั่นคงของหลักการแห่งประชาธิปไตย บ่อนทำลายอารยธรรมปัจจุบันแม้แต่ในประเทศผู้นำ หลักการของประชาธิปไตย ๓ ข้อนี้ คือ เสรีภาพ ความเสมอภาค และภราดรภาพ ตามความหมายที่แท้นั้น กลมกลืนประสานเป็นอันเดียวกั…

ท่าทีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยเมตตา และท่าทีต่อสัจธรรมด้วยปัญญา
เนื้อหาหลัก / 17 ธันวาคม 2540

เป็นตอนที่ 14 จาก 58 ตอนของ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์

ท่าทีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยเมตตา และท่าทีต่อสัจธรรมด้วยปัญญา เรื่องท่าทีต่อกันระหว่างมนุษย์ รวมทั้งท่าทีต่อกันระหว่างศาสนา ก็เป็นเรื่องใหญ่ ต้องดูจุดรวมใหญ่ที่ว่า เราจะอยู่กันอย่างไรด้วยท่าทีที่ถูกต้อง ท…

ตัวอย่างที่แสดงท่าทีต่อสัจธรรมด้วยปัญญา และท่าทีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยเมตตา
เนื้อหาหลัก / 17 ธันวาคม 2540

เป็นตอนที่ 15 จาก 58 ตอนของ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์

ตัวอย่างที่แสดงท่าทีต่อสัจธรรมด้วยปัญญา และท่าทีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยเมตตา เรื่องจากสีหสูตรต่อไปนี้ แสดงถึงท่าทีของพุทธศาสนาต่อลัทธิศาสนาอื่นได้อย่างชัดเจน อันจะเห็นได้จากพระจริยาวัตรของพระพุทธเจ้าเอง แ…

ท่าทีอหิงสาที่สืบมาในศาสนาของอินเดีย
เนื้อหาหลัก / 17 ธันวาคม 2540

เป็นตอนที่ 16 จาก 58 ตอนของ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์

ท่าทีอหิงสาที่สืบมาในศาสนาของอินเดีย พึงสังเกตว่า ต่อมาตอนหลัง ฮินดูก็มาถือหลักอหิงสา ทั้งที่ ว่าตามความจริง ฮินดูนั้นมาจากศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพราหมณ์เดิมนั้นคงจะเป็นอหิงสาได้ยาก เพราะเป็นศาสนาแห่งการบู…

ทำไมความต่างศรัทธา จึงขยายเป็นสงครามศาสนา
เนื้อหาหลัก / 17 ธันวาคม 2540

เป็นตอนที่ 17 จาก 58 ตอนของ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์

ทำไมความต่างศรัทธา จึงขยายเป็นสงครามศาสนา อหิงสานั้น ฝรั่งแปลว่า nonviolence แต่คำนี้ฝรั่งเพิ่งใช้มาได้ประมาณ ๘๐ ปี (เริ่มใช้ราว ค.ศ.1920) และเพราะเหตุที่เขารู้จักคำนี้จากเรื่องขบวนการกู้เอกราชของมหาต…

ถึงโลกจะพัฒนา แต่มนุษย์ยังล้าหลังไกลในวิถีทางแห่งสันติภาพ
เนื้อหาหลัก / 17 ธันวาคม 2540

เป็นตอนที่ 18 จาก 58 ตอนของ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์

ถึงโลกจะพัฒนา แต่มนุษย์ยังล้าหลังไกลในวิถีทางแห่งสันติภาพ ดังได้กล่าวแล้วว่า เรื่องการขัดแย้งสู้รบที่เกี่ยวข้องกับศาสนานั้นจะต้องแยกทำความเข้าใจให้ชัด ขอย้อนกลับไปพูดถึงความขัดแย้งสู้รบแบบที่ ๒ ข้างต้…

ภูมิหลังที่ต่างกันแห่ง ๒ วิธี ในการดำเนินวิถีแห่งสันติภาพ
เนื้อหาหลัก / 17 ธันวาคม 2540

เป็นตอนที่ 19 จาก 58 ตอนของ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์

ภูมิหลังที่ต่างกันแห่ง ๒ วิธี ในการดำเนินวิถีแห่งสันติภาพ ในระดับชนชาติหรือระดับภูมิภาค พูดได้คร่าวๆ ว่ามีมนุษย์อยู่ ๒ พวก ที่มีประสบการณ์แห่งความปรองดองทางศาสนา หรืออย่างน้อยก็อยู่ในขั้นของ tolerance…

ภาค ๒ ภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์
เนื้อหาหลัก / 17 ธันวาคม 2540

เป็นตอนที่ 20 จาก 58 ตอนของ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์

ภาค ๒ ภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์   ๑. ภูมิหลังศาสนา กับอารยธรรมตะวันตก   ในซีกโลกตะวันตก ศาสนาเกิดขึ้นมา พร้อมกับความรุนแรง ศาสนาของตะวันตก เริ่มต้นและดำเนินมาด้วยความรุนแรง เมื่อศาสนาคริสต…