๖) อยู่เพื่อพัฒนากรรม ไม่ใช่อยู่เพื่อใช้กรรม ที่พูดมานี้ เท่ากับบอกให้รู้ว่า เราจะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องต่อกรรมที่แยกเป็น ๓ ส่วน คือ กรรมเก่า-กรรมใหม่-กรรมข้างหน้า ขอสรุปวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อกรรมทั้…
๔) วิธีปฏิบัติต่อกรรม เมื่อพูดถึงหลักกรรม ปัญหาที่พูดกันมากที่สุดก็คือ ทำดีได้ดี จริงหรือไม่? ทำไมฉันทำดีแล้ว ไม่เห็นได้ดี? ถ้าเข้าใจปฏิจจสมุปบาท ในเรื่องเหตุปัจจัยอย่างที่พูดไปแล้ว ปัญหาอย่างนั้นจะหม…
๓) ผลหลากหลาย จากปัจจัยอเนก ตามหลักแห่งความเป็นไปในระบบสัมพันธ์นี้ ยังมีข้อควรทราบแฝงอยู่อีก โดยเฉพาะ • ขณะที่เราเพ่งดูเฉพาะผลอย่างหนึ่ง ว่าเกิดจากปัจจัยหลากหลายพรั่งพร้อมนั้น ต้องทราบด้วยว่า ที่แท้นั…
๒) ความหมายของ เหตุ และ ปัจจัย เบื้องแรกควรเข้าใจความหมายของถ้อยคำเป็นพื้นไว้ก่อน ในที่ทั่วไป หรือเมื่อใช้ตามปกติ คำว่า “เหตุ” กับ “ปัจจัย” ถือว่าใช้แทนกันได้ แต่ในความหมายที่เคร่งครัด ท่านใช้ “ปัจจัย…
บันทึกของผู้เรียบเรียง (ในการพิมพ์ครั้งที่ ๓) หนังสือ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์ นี้ เกิดจากคำบรรยายแก่คณะนักศึกษา ปริญญาโท สาขาศาสนาเปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่วัดญาณเว…
นิเทศพจน์ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ นี้ เดิมเป็นปาฐกถาธรรม ซึ่งได้แสดงในมงคลวารอายุครบ ๗๒ ปี ของ ศาสตราจารย์ ดร. ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๓๑ มูลนิธิโกมลคีมทองได้ขออนุญา…
คำปรารภ หนังสือเล่มนี้ ถือว่าเป็นการบำเพ็ญบุญกิริยาของโยมอุปถัมภ์วัดญาณเวศกวัน เพื่อร่วมอนุโมทนาในโอกาสที่ พลโท นายแพทย์ธำรงรัตน์ แก้วกาญจน์ อัญเชิญผ้าพระกฐินพระราชทานมาทอดที่ วัดญาณเวศกวัน ในวันที่ ๓…
เป้าหมายของเศรษฐศาสตร์ พระพรหมคุณาภรณ์ ดูเหมือนว่า เศรษฐศาสตร์ในปัจจุบันจะแยกตัวเองจากกิจกรรมอื่นๆ ของมนุษย์ ด้วยเหตุนี้เอง จึงมีคำว่า Reductionism และในศตวรรษนี้ มีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดศัพท์ Holistic…
อะไรคือความอยู่เย็นเป็นสุขของมนุษยชาติ? ขั้นแรก เราต้องตระหนักว่า เป้าหมายของชีวิตสามารถแบ่งออกได้เป็นสองสามระดับ และสำหรับมนุษย์ ชีวิตคือสิ่งที่จะต้องพัฒนาไปสู่ระดับที่สูงขึ้น สูงขึ้น ซึ่งระดับที่สูง…
เหตุ และ ปัจจัย ในพระพุทธศาสนา พระพรหมคุณาภรณ์ เรื่องเหตุและปัจจัยนี้ แม้แต่ในภาษาไทยก็ยังมีปัญหา เมื่อเราพูดถึงคำว่า เหตุ หรือสาเหตุ ได้แก่ Cause และ ปัจจัย หรือ Condition ในคำสอนเดิม เหตุ หรือที่เรา…