- คำนำ
- ปรัชญาการศึกษา ตามหลักพระพุทธศาสนา (มองจากภาคปฏิบัติ)
- — การศึกษาพุทธศาสนา บนพื้นฐานของความรู้แบบตะวันตก
- — หน้าที่ ๒ อย่างของครู
- — ความรู้ประเภทที่ ๑ : สุตศิลปหรือความรู้ที่เป็นอุปกรณ์
- — การศึกษาเริ่มต้นเมื่อคนเริ่มคิด
- — การคิดอย่างเสรี
- — ตัวอย่างจุดเริ่มต้นของความคิด ในด้านความสัมพันธ์กับวัตถุธรรม
- — ตัวอย่างจุดเริ่มต้นของความคิด ในด้านความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม
- — สรุปจุดเริ่มของความคิด หรือการมองความหมายและการตีค่า ๒ แบบ
- — ความรู้ประเภทที่ ๒ : ปัญญาหรือความรู้ที่เป็นตัวการศึกษา
- — อวิชชา – ตัณหา – อัตตา
- — การสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมฝ่ายวัตถุธรรม โดยวิถีทางของปัญญา
- — การสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม โดยวิถีทางของปัญญา
- — ปัญญาพ่วงด้วยกรุณาในจิตที่มีอิสรภาพ
- — กัลยาณมิตร จุดชนวนความคิด คือให้การศึกษา
- — การจัดการกับตัณหา
- — การศึกษากับแรงจูงใจ
- — ตัวอย่างต่างๆ ของกามฉันทะกับธรรมฉันทะ
- — ตัวอย่างของกามฉันทะและธรรมฉันทะ กับการปฏิบัติคุณธรรมทางสังคม
- — เสรีภาพที่แท้จริงมีอิสรภาพที่แท้เป็นพื้นฐาน
- — พุทธิศึกษาและจริยศึกษา กับ สุตศึกษาและศิลปศึกษา
- — พลศึกษาต้องหยั่งรากลงถึงจิตใจด้วย
- พระพุทธศาสนา กับการพัฒนาการศึกษา
- — ความผิดพลาดของการศึกษาเท่าที่ผ่านมา
- — ปัญหาเกี่ยวกับความหมายและความมุ่งหมายของการศึกษา
- — ความหมายของคำบัญญัติในทางการศึกษา
- — พระพุทธศาสนากับการพัฒนาการศึกษาในแง่เนื้อหาสาระ
- — ความซื่อตรงต่อกฎธรรมชาติ
- — คุณค่าแท้ คุณค่าเทียม
- — ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ
- — ปัญญากับอิสรภาพ และกรุณา
- — หลักยืนของการศึกษาที่แท้
- — การศึกษากับประชาธิปไตย
- — ศิษย์ในฐานะที่เป็นผลผลิตและที่พิสูจน์สัมฤทธิผลของการศึกษา
พระพุทธศาสนากับการพัฒนาการศึกษาในแง่เนื้อหาสาระ
ต่อไปนี้จะได้มาพิจารณาในแง่ของพระพุทธศาสนา เท่าที่กล่าวมานั้น เป็นข้อเสนอเบื้องต้นเพื่อตัดปัญหา จะได้เข้าสู่การพิจารณาตามหลักพระพุทธศาสนาต่อไป เมื่อมาสู่ทิศทางนี้แล้วเราก็จะได้วิเคราะห์ว่า จะนำพระพุทธศาสนามาใช้ได้อย่างไร เพื่อให้เป็นไปตามความหมายและความมุ่งหมายของการศึกษาเท่าที่กล่าวมาแล้ว
ถ้าหากจะพิเคราะห์ในแง่ของพระพุทธศาสนา ความคิดจะดำเนินไปในรูปต่อไปนี้คือ ถ้าต้องการอย่างที่ว่ามานั้นแล้ว เราจะต้องปลูกฝังค่านิยม คุณสมบัติหรือภูมิธรรมต่อไปนี้ ให้เป็นรากฐานในการสร้างสรรค์ความเจริญและการดำเนินชีวิต และหลักการต่อไปนี้ ให้เป็นรากฐานในการสร้างสรรค์ความเจริญ และการดำเนินชีวิตและหลักการต่อไปนี้เป็นหลักการตามแนวพระพุทธศาสนา
No Comments
Comments are closed.