รากฐานพุทธจริยศาสตร์ทางสังคม เพื่อสังคมไทยร่วมสมัย จาก Foundations of Buddhist Social Ethics for Contemporary Thailand ข้อพิจารณาเบื้องต้นบางประการ ทุกวันนี้หัวข้อบรรยาย อันเกี่ยวกับพุทธจริยศาสตร์ เป็…
ความสัมพันธ์และความรับผิดชอบทางสังคม ดังได้กล่าวแล้ว พระภิกษุในพุทธศาสนาไม่อาจดำรงชีวิตอย่างตัดขาดจากโลกภายนอกได้ ด้วยวินัยบังคับอยู่ ให้บำรุงรักษาความสัมพันธ์ที่ดีทั้งต่อพระสงฆ์ด้วยกันและต่อสังคมคฤหั…
ภิกษุกับคฤหัสถ์ ตามพระวินัย ชีวิตภิกษุย่อมอาศัยคฤหัสถ์ในด้านภัตตาหารและบริขารต่างๆ โดยหลักการแล้ว ภิกษุจะได้รับภัตตาหารประจำวันมาโดยการออกบิณฑบาต แต่อาจรับนิมนต์ไปฉันที่บ้านทายกทายิกา หรือฝ่ายหลังจะมา…
คฤหัสถ์ กับคฤหัสถ์ ข้อแนะนำในทางปฏิบัติ สำหรับจัดระเบียบคณะสงฆ์นั้น ปรากฏอยู่ในพระวินัยปิฎกโดยเฉพาะ แต่สำหรับสังคมคฤหัสถ์ หามีหมวดใดรวบรวมข้อแนะนำไว้ให้โดยเฉพาะไม่ ถึงแม้ว่าศีลห้าที่ให้เว้นจากการฆ่า ก…
การพึ่งพาอาศัยกันระหว่างการบรรลุธรรมส่วนบุคคลกับความดีงามทางสังคม ดังที่ได้เอ่ยไว้แต่ต้นแล้วว่า การบรรลุธรรมส่วนบุคคลกับความดีงามทางสังคมนั้น ย่อมพึ่งพาอาศัยกันและกัน สังคมซึ่งประกอบด้วยผู้คนที่สามารถ…
ทัศนะต่อความยากจนและความร่ำรวย คำว่า “ความยากจน” บางครั้งก็ก่อให้เกิดความไขว้เขวได้ บัญญัติที่มักคุ้นกันในทางพุทธน่าจะได้แก่ ความสันโดษ (สันตุฏฐี) หรือความมักน้อย (อัปปิจฉตา) ส่วนความยากจน (ทลิททิยะ) …
ระบบพุทธจริยศาสตร์ เราจะเข้าใจจริยศาสตร์ทางสังคมแบบพุทธได้ชัดขึ้น หากพิจารณาโดยโยงถึงระบบพุทธจริยศาสตร์ทั้งหมด ดังได้กล่าวแต่ต้นแล้วว่า พุทธจริยศาสตร์ทั้งหมดนั้นประกอบด้วยอริยมรรคแปด และบุพภาคแห่งอริย…
สรุป พุทธธรรมมองชีวิต โลก และสังคม ว่าเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง ฉันใด พุทธจริยศาสตร์ โดยเฉพาะในระดับสังคม ย่อมเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้ ฉันนั้น อันที่จริง เพื่อให้เข้ากับลักษณะอันไม่หยุดนิ่งตายตัวของพุทธจร…
คำอนุโมทนา สำนักพิมพ์เทียนวรรณ มีฉันทะที่จะเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ได้อุตสาหะรวบรวมข้อเขียน บทความ และคำบรรยายในโอกาสต่างๆ ของผู้เขียน จัดประมวลเป็นหมวด แล้วขออนุญาตพิมพ์เป็นหนังสือเล่ม เฉ…