- (กล่าวนำ)
- เป้าหมายของเศรษฐศาสตร์
- หากยังมีความขัดแย้งก็ยากที่จะถึงเป้าหมาย
- อะไรคือความอยู่เย็นเป็นสุขของมนุษยชาติ?
- ความสุข ๒ แบบในพระพุทธศาสนา
- โลกแห่งการบริโภค คนมีสุขยาก ทุกข์ง่าย
- มนุษย์มีความแตกต่างกันหลายระดับ
- ศีล ๕ : หลักการพื้นฐานของสังคม – ศีล ๘ : ศีลเพื่อการพัฒนาสู่อิสรภาพ
- บุคคล ๓ กลุ่ม
- ประเทศผู้ผลิตกับประเทศผู้บริโภค
- การศึกษาควรสอนให้มนุษย์ พัฒนาความสามารถในการมีความสุข
- ดุลยภาพของอิสรภาพทั้ง ๔
- ต้องพัฒนา Intellectual Freedom ให้เกิดมีขึ้นในผู้บริโภค
- ผู้บริโภคมีอำนาจต่อรองกับผู้ผลิต
- ธุรกิจอยู่ไม่ได้ ถ้าผู้บริโภคไม่ซื้อสินค้า หรือไม่ใช้บริการ
- ความสำเร็จที่แท้จริงของนักธุรกิจ
- ลัทธิบริโภคนิยมมาจากตัณหาของมนุษย์
- Meditation in Form/Meditation in Substance
- ค่านิยมกำหนดสังคม
- การแข่งขันในทางที่ถูก
- การแข่งขันกระตุ้นให้เกิดความไม่ประมาท
- กิจกรรม ๓ ประการ ที่เศรษฐศาสตร์ควรให้ความสนใจ
- Freedom Through Wisdom ความสำเร็จสูงสุดของมนุษย์
- พัฒนาฉันทะ ลดละตัณหา
- ความปรารถนาที่ดีงามคือฉันทะ
- แหล่งข้อมูลคำสอนในพระพุทธศาสนา
- ทำไมเถรวาทมีคำสอนเรื่องการครองเรือน มากกว่าสายอื่น
- เหตุ และ ปัจจัย ในพระพุทธศาสนา
- ปัจจัยหนึ่งอาจนำไปสู่ผลหลายอย่าง
- การแยกแยะปัจจัยหรือยักย้ายเงื่อนไข
- กัลยาณมิตรเป็นทั้งหมดของพรหมจรรย์
- ศรัทธาและปัญญาไม่ใช่คู่แข่งขัน
- ปฏิจจสมุปบาทแบบง่าย
- กุศลและอกุศลจากผัสสะ
- กระบวนการปฏิจจสมุปบาทเกิดตลอดเวลา
- พระพุทธเจ้าทรงอธิบายปฏิจจสมุปบาท ตามสติปัญญาของผู้ฟัง
- แนะนำหนังสืออ่านประกอบ
- ภาคผนวก
- บันทึกผู้แปล
- คำนำในการพิมพ์ ครั้งที่ ๓
ค่านิยมกำหนดสังคม
พระพรหมคุณาภรณ์
เราต้องแข่งขันในการสร้างค่านิยมของสังคม เพราะค่านิยมมีบทบาทสำคัญในการกำหนดสังคม ในการออกแบบชะตากรรมของสังคม และของโลก มันสัมพันธ์กับลำดับขั้นตอนของการพัฒนาของประชาชน ถ้าประชาชนมีพัฒนาการมากขึ้นเท่าใด เขาก็ไม่เป็นทาสของค่านิยมของสังคมมากเท่านั้น คนที่ตกเป็นทาสของค่านิยมของสังคม ไม่สามารถพึ่งตนเองได้ พระพุทธองค์ตรัสว่า วิธีที่จะให้การศึกษาคนหรือฝึกฝนคน ตามหลักการของพระพุทธศาสนา คือ การทำให้เขาสามารถพึ่งตนเองได้ แต่ในสังคมทุกวันนี้ เราจะเห็นได้ว่า คนไม่สามารถพึ่งตนเองได้ แต่มีแนวโน้มที่จะพึ่งสิ่งภายนอก
นายมิวเซนเบิร์ก
กลับไปที่คำถามเรื่องการแข่งขัน ในหนังสือของท่านพูดเรื่องการแข่งขัน และการร่วมมือ ผมเห็นว่าถ้าประชาชนมีอิสรภาพในการเลือกซื้อในสิ่งที่ต้องการ แม้ว่าเขาจะมีความรู้มากขึ้น การแข่งขันเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ในความหมายที่ว่า แม้แต่คนที่มีความรู้ ก็จะซื้อสินค้าจากผู้ผลิตที่เขาชอบมากกว่า ผมจึงไม่เห็นว่า จะมีระบบใดของสังคมที่จะไม่มีเรื่องการแข่งขัน
No Comments
Comments are closed.