- (กล่าวนำ)
- เป้าหมายของเศรษฐศาสตร์
- หากยังมีความขัดแย้งก็ยากที่จะถึงเป้าหมาย
- อะไรคือความอยู่เย็นเป็นสุขของมนุษยชาติ?
- ความสุข ๒ แบบในพระพุทธศาสนา
- โลกแห่งการบริโภค คนมีสุขยาก ทุกข์ง่าย
- มนุษย์มีความแตกต่างกันหลายระดับ
- ศีล ๕ : หลักการพื้นฐานของสังคม – ศีล ๘ : ศีลเพื่อการพัฒนาสู่อิสรภาพ
- บุคคล ๓ กลุ่ม
- ประเทศผู้ผลิตกับประเทศผู้บริโภค
- การศึกษาควรสอนให้มนุษย์ พัฒนาความสามารถในการมีความสุข
- ดุลยภาพของอิสรภาพทั้ง ๔
- ต้องพัฒนา Intellectual Freedom ให้เกิดมีขึ้นในผู้บริโภค
- ผู้บริโภคมีอำนาจต่อรองกับผู้ผลิต
- ธุรกิจอยู่ไม่ได้ ถ้าผู้บริโภคไม่ซื้อสินค้า หรือไม่ใช้บริการ
- ความสำเร็จที่แท้จริงของนักธุรกิจ
- ลัทธิบริโภคนิยมมาจากตัณหาของมนุษย์
- Meditation in Form/Meditation in Substance
- ค่านิยมกำหนดสังคม
- การแข่งขันในทางที่ถูก
- การแข่งขันกระตุ้นให้เกิดความไม่ประมาท
- กิจกรรม ๓ ประการ ที่เศรษฐศาสตร์ควรให้ความสนใจ
- Freedom Through Wisdom ความสำเร็จสูงสุดของมนุษย์
- พัฒนาฉันทะ ลดละตัณหา
- ความปรารถนาที่ดีงามคือฉันทะ
- แหล่งข้อมูลคำสอนในพระพุทธศาสนา
- ทำไมเถรวาทมีคำสอนเรื่องการครองเรือน มากกว่าสายอื่น
- เหตุ และ ปัจจัย ในพระพุทธศาสนา
- ปัจจัยหนึ่งอาจนำไปสู่ผลหลายอย่าง
- การแยกแยะปัจจัยหรือยักย้ายเงื่อนไข
- กัลยาณมิตรเป็นทั้งหมดของพรหมจรรย์
- ศรัทธาและปัญญาไม่ใช่คู่แข่งขัน
- ปฏิจจสมุปบาทแบบง่าย
- กุศลและอกุศลจากผัสสะ
- กระบวนการปฏิจจสมุปบาทเกิดตลอดเวลา
- พระพุทธเจ้าทรงอธิบายปฏิจจสมุปบาท ตามสติปัญญาของผู้ฟัง
- แนะนำหนังสืออ่านประกอบ
- ภาคผนวก
- บันทึกผู้แปล
- คำนำในการพิมพ์ ครั้งที่ ๓
ธุรกิจอยู่ไม่ได้ ถ้าผู้บริโภคไม่ซื้อสินค้า
หรือไม่ใช้บริการ
พระพรหมคุณาภรณ์
ปัจจุบัน หลายสิ่งหลายอย่างที่ไม่จำเป็น ได้กลายเป็นสิ่งจำเป็น ในการต่อสู้ระหว่างวงจรธุรกิจ และวงจรผู้บริโภค นี่คือความจำเป็นที่เราต้องพัฒนาคน เมื่อเราพัฒนาคน เขาก็จะไม่เพิ่มขยายความต้องการในสิ่งที่ไม่จำเป็นหรือไม่เปลี่ยนความต้องการเป็นความจำเป็น บางทีเขาอาจทำให้ความต้องการน้อยลง เราต้องต่อสู้ในเรื่องนี้ด้วย เพราะว่ามันคือโลกแห่งการแข่งขัน ถ้าเราไม่สามารถสอนคนได้ในเรื่องนี้ มันก็ยาก และก็อาจไม่มีทางที่จะแก้ปัญหาได้ แต่เราไม่สามารถคาดหวังสิ่งนี้จากคนส่วนใหญ่ แต่อย่างน้อย ก็จะมีคนเข้าใจมากขึ้น มีความต้องการน้อยลง และมีการพัฒนาปัญญามากขึ้น กลุ่มคนเหล่านี้นี่เองที่จะสามารถแข่งขันกับพวกนักธุรกิจได้
No Comments
Comments are closed.