บันทึกงาน (ในการพิมพ์ครั้งที่ ๒๓๖) ก่อนขึ้นปีใหม่ ๒๕๖๕ หลานหนึ่งบอกมาว่ามีหนังสือ ธรรมนูญชีวิต ตั้งแต่พิมพ์ครั้งแรกในเมืองไทย ชอบใจและได้ใช้เป็นหลักในการดำเนินชีวิตเรื่อยมา เวลานี้อยากจะพิมพ์แจกขยายปร…
ภาค ๑ วินัยชาวพุทธ พระสงฆ์มีวินัยของพระภิกษุ ที่จะต้องประพฤติให้เป็นผู้มีศีล ชาวพุทธทั่วไป ก็มีวินัยของคฤหัสถ์ ที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นมาตรฐาน
หมวดหนึ่ง วางฐานชีวิตให้มั่น ชาวพุทธจะต้องดำเนินชีวิตที่ดีงาม และร่วมสร้างสรรค์สังคมให้เจริญมั่นคง ตามหลัก วินัยของคฤหัสถ์ (คิหิวินัย) ดังนี้ กฎ ๑: เว้นชั่ว ๑๔ ประการ ก. เว้นกรรมกิเลส (บาปกรรมที่ทำให้…
หมวดสอง นำชีวิตให้ถึงจุดหมาย ก. จุดหมาย ๓ ขั้น ดำเนินชีวิตให้บรรลุจุดหมาย (อัตถะ) ๓ ขั้น คือ ขั้นที่ ๑ ทิฏฐธัมมิกัตถะ จุดหมายขั้นตาเห็น หรือ ประโยชน์ปัจจุบัน ก) มีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง ไร้โร…
ภาค ๒ ธรรมนูญชีวิต หมวดนำ คนกับความเป็นคน ๑. คนผู้เป็นสัตว์ประเสริฐ (สมาชิกในสังกัดมนุษยชาติ) มนุษย์เป็นสัตว์พิเศษ ซึ่งแตกต่างจากสัตว์ทั้งหลายอื่น สิ่งที่ทําให้มนุษย์เป็นสัตว์พิเศษ ได้แก่ สิกขา…
หมวดหนึ่ง คนกับสังคม ๓. คนมีศีลธรรม (สมาชิกในหมู่อารยชน) คนมีศีลธรรม หรือมีมนุษยธรรม ที่เรียกได้ว่าเป็นอารยชน มีธรรม คือ คุณสมบัติ ดังนี้ ก. มีสุจริตทั้งสาม คือ มีความประพฤติดีประพฤติชอบ ๓ ประการ ๑. ก…
หมวดสอง คนกับชีวิต ๘. คนมีชีวิตอยู่อย่างมั่นใจ (ชีวิตที่เลิศล้ำสมบูรณ์) คนที่มีความมั่นใจในชีวิตของตน จนไม่หวาดหวั่นพรั่นพรึงแม้ต่อความตาย ก็เพราะได้ดำเนินชีวิตของตนอยู่อย่างดีที่สุด และได้ใช้ชีวิตนั้…
หมวดสาม คนกับคน ๑๓. คนร่วมชีวิต (คู่ครองที่ดี) คู่ครองที่ดี ที่จะเป็นคู่ร่วมชีวิตกันได้ นอกจากกามคุณแล้ว ควรมีคุณสมบัติ และประพฤติตามข้อปฏิบัติ ดังนี้ ก. คู่สร้างคู่สม มีหลักธรรมของคู่ชีวิต ที่จะทำให้…
หมวดสี่ คนกับมรรคา ๑๘. คนผู้สั่งสอนหรือให้การศึกษา (ครู อาจารย์ หรือผู้แสดงธรรม) ผู้ทำหน้าที่สั่งสอน ให้การศึกษาแก่ผู้อื่น โดยเฉพาะครู อาจารย์ พึงประกอบด้วยคุณสมบัติ และประพฤติตามหลักปฏิบัติ ดังนี้ ก….
บันทึกท้ายเล่ม ที่มาท้ายหมวดธรรมแต่ละหมวดในหนังสือนี้ ได้แสดงไว้หมวดละที่มาเดียว พอเป็นหลักฐานเท่านั้น ส่วนความหมายและคำอธิบาย ได้ขยายบ้าง ย่อบ้าง ตามสมควร และได้ตรวจสอบกับที่มาแห่งอื่นๆ ด้วย ทั้งในพร…