คนไทยควรศึกษาพระพุทธศาสนา ในแง่ต่างๆ ให้ครบถ้วนตามฐานะต่างๆ ดังนี้
- ในฐานะป็นสถาบันของสังคมที่ใหญ่ และสำคัญมากของประเทศไทย
- ในฐานะที่เป็นสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่แผ่กว้างครอบคลุมสังคมไทย
- ในฐานะที่เป็นเนื้อหาสาระส่วนสำคัญ และเป็นรากฐานของวัฒนธรรมไทย
- ในฐานะที่เป็นเอกลักษณ์ และเป็นมรดกของชนชาติไทย
- ในฐานะที่เป็นศาสนาซึ่งคนส่วนใหญ่นับถือ และเป็นศาสนาประจำชาติไทย
- ในฐานะที่เป็นหลักคำสอน และระบบจริยธรรมสำหรับพัฒนาชีวิตและสังคม
- ในฐานะที่เป็นวิชาการ ซึ่งเสริมสร้างความเจริญก้าวหน้าทางปัญญาให้แีก่สังคมมนุษย์
- ในฐานะที่เป็นแหล่งหนึ่ง แห่งอารยธรรมของมวลมนุษยชาติ
พิมพ์ครั้งแรก (๒๕๓๓) ในชื่อ “ทำไมคนไทยจึงเรียนพระพุทธศาสนา : ข้อพิจารณาเกี่ยวกับวิชาพระพุทธศาสนาและจริยศึกษาในหลักสูตรการศึกษาของชาติ” ต่อมาได้ปรับปรุงเนื้อหาส่วนเดิม จัดเป็นภาค ๑ และเพิ่มเติมเนื้อหาใหม่จัดตั้งเป็นภาค ๒ ให้ชื่อว่า “จริยธรรมสากล จากความเป็นกลาง สู่ความเป็นจริง” แล้วตั้งชื่อหนังสือใหม่ว่า “ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย” จัดพิมพ์ครั้งแรก ตุลาคม ๒๕๓๔
ในเว็บไซต์แห่งนี้ได้รวมเนื้อหาไว้ในเรื่องเดียวคือ ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย
สารบัญ
- ทำไมคนไทยจึงเรียนพระพุทธศาสนา?
- จริยศึกษาเพื่อรับมือกับปัญหาของยุคพัฒนา
- ความเสื่อมโทรมของสังคมและชีวิตจิตใจ ที่เป็นปัญหายิ่งใหญ่ของอเมริกาในปัจจุบัน
- สัญญาณอันตราย บอกให้ยกเครื่องการศึกษากันใหม่
- ระบบจริยธรรมที่ต่อติดกับพื้นฐานเดิมของสังคมไทย
- ชาวพุทธควรมีสิทธิเรียนจริยศึกษาแบบพุทธ
- สังคมไทยได้เปรียบสังคมอเมริกัน ในการจัดจริยศึกษาที่มีเอกภาพ
- สังคมไทยไม่มีเหตุผลที่จะไม่สอนจริยศึกษาตามหลักพระพุทธศาสนา
- เรียนพระพุทธศาสนา เพื่อมาร่วมอยู่และร่วมพัฒนาสังคมไทย
- การศึกษาเพื่อสร้างชนชั้นนำ สำหรับมาพัฒนาสังคมไทย
- การศึกษาพระพุทธศาสนาเพื่อรักษาผลประโยชน์ของสังคมไทย
- สัญญาณเตือนภัยให้เร่งรัดส่งเสริมพุทธจริยศึกษา
- บูรณาการที่หล่นหายไปจากจริยศึกษาของไทย บนเส้นทางของจริยธรรมสากล
- จริยธรรมสากล เข้าหรือขัดกับบูรณาการ
- บูรณาการการสอนและบูรณาการเนื้อหาจริยธรรมแล้ว อย่าลืมบูรณาการนักเรียนและบูรณาการโรงเรียนด้วย
- จากคติแห่งศาสนศึกษาในอังกฤษ สู่ความคิดหาทางสายกลางของการจัดจริยศึกษา
- บทเรียนจากอเมริกา วิชาศาสนาและจริยศึกษาที่เรรวน
- จะยัดเยียด หรือจะปล่อยตามใจ ก็ไม่ใช่ทางสายกลาง
- รู้จักคิด รู้จักจำ ไม่ทำให้ยัดเยียด
- จะหลบการยัดเยียด แต่กลายเป็นปิดกั้นปัญญา/ประชาธิปไตย จะห้ามนักปราชญ์ เพื่อให้โอกาสแก่โจร
- ถ้าเรียน และสอนไม่ถูกต้อง วิทยาศาสตร์ก็กลายเป็นวิชาที่ยัดเยียด
- เรื่องสามัญของตนเองที่ควรจะต้องรู้ สิ่งดีที่ตนมีพิเศษ ที่จะให้และจะนำคนอื่นได้
- หลักการที่ควรตรวจสอบและปฏิบัติการที่ควรทบทวน
- วงการพระพุทธศาสนา ก็ต้องสำรวจพิจารณาและปรับปรุงตนเอง
- บทสรุปและข้อเสนอแนะ
- บันทึกของผู้เขียน
No Comments
Comments are closed.