… ปราชญ์ทั้งหลายกล่าวว่า พระพุทธศาสนาไม่สูญสิ้นไปจากประเทศอินเดีย เพราะสิ่งที่พระพุทธศาสนาสร้างขึ้นแล้วในประเทศอินเดีย ก็ยังคงอยู่ในประเทศอินเดีย ในรูปศิลปะ โบราณคดี วัฒนธรรมต่างๆ ที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน ส่วนในด้านหลักธรรมก็เป็นเครื่องปรับปรุงขัดเกลา และเป็นแบบอย่างที่ทำให้ศาสนาฮินดูซึ่งเจริญมาถึงปัจจุบันกลายรูปไปในทางที่ประณีตขึ้น เช่น เลิกการบูชายัญ มีหลักศีลธรรมเด่นชัดขึ้น มีหลักปรัชญาที่ลึกซึ้งขึ้น ด้วยวิธีดึงเอามาจากพุทธศาสนาเท่าที่เป็นประโยชน์แก่ตน ดังนี้เป็นต้น…
สารบัญ
คำนำสำนักพิมพ์
๑. พระพุทธศาสนาในกัมพูชา
- ๑. ยุคฟูนัน (Funan หรือ Founan) หรือยุคอาณาจักรพนม หรือยุคก่อนเขมร (ค.ศต. ๑ – ๖ ตรงกันประมาณ พ.ศ. ๖๐๐ – ๑๐๐๐)
- ๒. ยุคเจนละ (Chenla) (ครึ่งหลังของ ค.ศต. ๖ – ค.ศ. ๘๐๒ หรือ พ.ศต. ๑๑ – พ.ศ. ๑๓๔๕)
- ๓. ยุคพระนคร หรือยุคมหานคร (Angkor) (พ.ศ. ๑๓๔๕ – ๑๙๗๕)
- ๔. ยุคหลังพระนคร (พ.ศ. ๑๙๗๕ ถึงปัจจุบัน)
- หนังสือประกอบ
๒. พระพุทธศาสนาในเกาหลี
๓. พระพุทธศาสนาในจีน
- ๑. สมัยราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ. ๓๔๒ – ๗๖๓)
- ๒. สมัยสามก๊ก (พ.ศ. ๗๖๓ – ๘๐๘)
- ๓. สมัยราชวงศ์จิ้น (พ.ศ. ๘๐๘ – ๙๖๓)
- ๔. สมัยราชวงศ์เหนือและใต้ (พ.ศ. ๙๖๓ – ๑๑๒๔)
- ๕. สมัยราชวงศ์ซุย (พ.ศ. ๑๑๒๔ – ๑๑๖๑)
- ๖. สมัยราชวงศ์ถัง (พ.ศ. ๑๑๖๑ – ๑๔๕๐)
- ๗. สมัยห้าราชวงศ์ หรือ หงอโต้ว (พ.ศ. ๑๔๕๐ – ๑๕๐๓)
- ๘. สมัยราชวงศ์สุง หรือ ซ้อง (พ.ศ. ๑๕๐๓ – ๑๘๒๓)
- ๙. สมัยราชวงศ์หงวน หรือ หยวน (พ.ศ. ๑๘๒๓ – ๑๙๑๑)
- ๑๐. สมัยราชวงศ์หมิง หรือ เหม็ง (พ.ศ. ๑๙๑๑ – ๒๑๘๗)
- ๑๑. สมัยราชวงศ์ชิง หรือ เช็ง (พ.ศ. ๒๑๘๗ – ๒๔๕๕)
- ๑๒. สมัยสาธารณรัฐ (พ.ศ. ๒๔๕๕ เป็นต้นมา)
- ๑๓. สมัยสาธารณรัฐประชาชนจีน (พ.ศ. ๒๔๙๒ เป็นต้นมา)
๔. พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
- พระพุทธศาสนาเข้าสู่ญี่ปุ่น
- พระพุทธศาสนารุ่งเรืองในญี่ปุ่น
- ยุคเมืองนาราเป็นราชธานี
- ยุคเมืองเฮอันเป็นราชธานี
- พระพุทธศาสนายุคกามากุระ
- พระพุทธศาสนาในยุคต่อๆ มา
- สภาพปัจจุบัน
- โซกะ งักไก
- หนังสือและเอกสารประกอบการเขียน
๕. พระพุทธศาสนาในทิเบต
๖. พระพุทธศาสนาในไทย
- ยุคที่ ๑ เถรวาทแบบสมัยอโศก
- ยุคที่ ๒ มหายาน
- ยุคที่ ๓ เถรวาทแบบพุกาม
- ยุคที่ ๔ เถรวาทแบบลังกาวงศ์
- ๒. สมัยลานนาไทย
- ๓. สมัยอยุธยา
- ๔. สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (ถึง ร.๔)
- ๕. สมัยปัจจุบัน (ร.๕ ถึงปัจจุบัน)
๗. พระพุทธศาสนาในเนปาล
๘. พระพุทธศาสนาในพม่า
๙. พระพุทธศาสนาในลาว
๑๐. พระพุทธศาสนาในเวียดนาม
- ก. อาณาจักรจัมปา
- ข. เวียดนาม
- ๒) ยุคชาติทรุด-ศาสน์โทรม
- ๓) ยุคกอบกู้-ฟูแล้วกลับยุบ
- ๔) ยุควิกฤติการณ์ชาวพุทธ ถึงวิกฤติการณ์รวมประเทศ (พ.ศ. ๒๕๐๖ ถึงปัจจุบัน)
- บทส่งท้าย:
- หนังสือและเอกสารประกอบ
๑๑. พระพุทธศาสนาในศรีลังกา
๑๒. พระพุทธศาสนาในอาเซียกลาง
๑๓. พระพุทธศาสนาในอาฟกานิสถาน
๑๔. พระพุทธศาสนาในอินเดีย
- ยุคที่ ๑ การรักษาความมั่นคงภายในสังฆมณฑล (นับแต่พุทธปรินิพพาน ถึงก่อนพระเจ้าอโศกมหาราช หรือประมาณ พ.ศ. ๑ ถึง ๒๐๐ เศษ)
- ยุคที่ ๒ พระพุทธศาสนารุ่งเรืองทั่วชมพูทวีปและแผ่ออกต่างประเทศ (จักรวรรดิพุทธที่ ๑ ของพระเจ้าอโศกมหาราช ถึงจักรวรรดิพุทธที่ ๒ ของพระเจ้ากนิษกะ ประมาณ พ.ศ. ๒๕๐ ถึง ๕๐๐)
- ยุคที่ ๓ พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานแยกตัวออกไปและเจริญรุ่งเรือง
- ยุคที่ ๔ ศูนย์กลางการศึกษาวัฒนธรรมและการผสมผสานกับศาสนาฮินดู
- ยุคที่ ๕ ความเจริญที่อ่อนแอ ความเสื่อมโทรมและสูญสิ้นจากประเทศอินเดีย
- สมัยปัจจุบัน
- เหตุที่พระพุทธศาสนาเสื่อมสูญจากอินเดีย
No Comments
Comments are closed.